เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

มะค่าหนาม คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ดู มะค่าแต้.
  • มะ     ๑ คำนำหน้าต้นไม้หรือผลไม้บางอย่าง กร่อนมาจากคำ “หมาก” โบราณแปลว่า ลูกไม้, ผลไม้. ๒ น. นาย (ใช้นำหน้าชื่อคน). ( ต. ).
  • มะค่า     น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Afzelia xylocarpa Craib ในวงศ์ Leguminosae ใบคล้ายใบประดู่ ฝักแบน หนา แข็ง เนื้อไม้สีน้ำตาลอมแดง ใช้ในการก่อสร้าง,
  • ค่า     น. มูลค่าหรือราคาของสิ่งใด ๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่มีประโยชน์ในทางใช้สอย แลกเปลี่ยน หรือทางจิตใจเป็นต้น บางอย่างก็ประเมินเป็นเงินได้
  • หน     น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
  • หนา     ๑ น. ส่วนสูงมากจากผิวพื้น. ว. มีส่วนสูงมากจากผิวพื้น; แน่นทึบ, มาก, ตรงข้ามกับ บาง. ๒
  • หนาม     ๑ น. ส่วนแหลม ๆ ที่งอกออกจากต้นหรือกิ่งของไม้บางชนิดเป็นต้น เช่น หนามงิ้ว หนามพุทรา. ๒ น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวในสกุล Murex วงศ์ Muricidae
  • นา     ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
  • นาม     นามมะ- น. ชื่อ, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระนาม; คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ สำหรับเรียกคน สัตว์ และสิ่งของต่าง ๆ; สิ่งที่ไม่ใช่รูป คือ จิตใจ, คู่กับ รูป. ( ป.
  • ป่าหนาม    ป่าไม้ใบแคบ
  • หน้าหนา    ว. มีสีหน้าไม่สลดทั้งที่ควรจะอายแต่ก็ไม่อาย, โดยปริยายหมายความว่า ไม่มีความรู้สึกอายในสิ่งที่ควรอาย.
  • หนามยอกเอาหนามบ่ง    (สำ) ก. ตอบโต้หรือแก้ด้วยวิธีการทำนองเดียวกัน.
  • ทําหน้าที่เป็นคํานาม    เกี่ยวกับคํานาม
  • ปลาหลังหนาม    gasterosteus
  • เจ้าหน้าที่อนามัย    ผู้ศึกษาด้านสาธารณสุข เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  • หนาหู    ว. ได้ยินพูดกันมาก, บ่อย (ใช้แก่การได้ยิน), เช่น มีข่าวหนาหูว่าจะตัดถนนสายใหม่, บางทีก็ใช้ว่า หนาหูหนาตา โดยมี หนาตา เป็นคำสร้อย เช่น ได้ยินข่าวหนาหูหนาตาว่ารัฐบาลจะเลิกเก็บภาษีบางอย่าง.