เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

มานุษย- คือ

สัทอักษรสากล: [mā nut sa ya]  การออกเสียง:
"มานุษย-" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • มานุด, มานุดสะยะ-
    น. คน, เพศคน.
    ว. เกี่ยวกับคน, ของคน. (ส.).
  • มา     ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
  • มาน     ๑ น. ชื่อโรคจำพวกหนึ่ง เกิดได้หลายสาเหตุ เช่น มีถุงน้ำเกิดที่เยื่อบุช่องท้อง การอุดกั้นหลอดเลือดดำหรือทางเดินของน้ำเหลือง ตับแข็ง ลิ้นหัวใจพิการ
  • มานุษ     มานุด, มานุดสะยะ- น. คน, เพศคน. ว. เกี่ยวกับคน, ของคน. ( ส. ).
  • นุ     ๑ ( กลอน ) ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง. ( ตะเลงพ่าย ); อเนกนุประการ. ( พงศ. เลขา ); โดยนุกรม. ( ม. คำหลวง วนปเวสน์). ๒ (
  • (มานุษย)    เป็นคำที่ใช้ในมานุษยวิทยา
  • มานุษยวิทยา    มานุดสะยะ-, มานุด- น. วิชาว่าด้วยเรื่องตัวคน และสิ่งที่คนสร้างขึ้น. (อ. anthropology).
  • นักมานุษยวิทยา    n. ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชามานุษยวิทยา ตัวอย่างการใช้: นักมานุษยวิทยาตระหนักว่า ท่าทางการพูดของคนเราสะท้อนให้เห็นถึงความเห็นของเขาในเรื่องนั้นๆ clf.: คน
  • มานุษยวิทยาสังคม    มานุษยวิทยาวัฒนธรรม
  • สังคมมานุษยวิทยา    มานุษยวิทยา
  • สานุศิษย์    น. ศิษย์น้อยใหญ่. (กร่อนมาจาก ส. ศิษฺยานุศิษฺย; ป. สิสฺสานุสิสฺส).
  • ศิษยานุศิษย์    สิดสะยานุสิด น. ศิษย์น้อยใหญ่.
  • ทฤษฎีมานุษยวิทยาโครงสร้าง    โครงสร้างนิยม
  • นักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม    นักมานุษยวิทยาสังคม
  • นักมานุษยวิทยาสังคม    นักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม
  • มานุษยวิทยาวัฒนธรรม    มานุษยวิทยาสังคม