มาร- คือ
"มาร-" อังกฤษ
มาน, มาระ-, มานระ-
น. เทวดาจำพวกหนึ่ง มีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ; ยักษ์; ผู้ฆ่า, ผู้ทำลาย, ในพระพุทธศาสนาหมายถึงผู้กีดกันบุญกุศล มี ๕ อย่าง เรียกว่า เบญจพิธมาร คือ ขันธมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร มัจจุมาร เทวบุตรมาร, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่เป็นอุปสรรคขัดขวาง. (ป., ส.).
- มา ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
- มาร มาน, มาระ-, มานระ- น. เทวดาจำพวกหนึ่ง มีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ; ยักษ์; ผู้ฆ่า, ผู้ทำลาย, ในพระพุทธศาสนาหมายถึงผู้กีดกันบุญกุศล มี ๕
- มาริ ก. มา. (ช.).
- กัมมาร กำมาน (แบบ) น. กรรมาร, ช่างทอง, ช่างเหล็ก. (ป.; ส. กรฺมาร).
- กุมาร -มาน น. เด็กชาย. (ป., ส. กุมาร ว่า เด็กชาย, ลูกหลวง); ชื่อกัณฑ์ที่ ๘ แห่งมหาเวสสันดรชาดก.
- กุมารา (กลอน) น. กุมาร, เด็กชาย, เช่น เมื่อนั้น พระไชยเชษฐ์ความแสนเสนหา พยายามตามปลอบกุมารา อนิจจาปลื้มใจไม่ดูดี. (ไชยเชษฐ์), (ป.; ส. กุมาร ว่า เด็กชาย, ลูกหลวง).
- กุมารี น. เด็กหญิง. (ป., ส.).
- คิมาร์ ผ้าคลุมศีรษะคิมาร์
- ตัวมาร ผู้ทรมาน ม่านปีกทั้งสองข้างของเวที สิ่งที่ทรมาน ส้อมขนาดยาว
- ทามาริ ซีอิ๊ว นมถั่วเหลือง เต้าหู้ เต้าเจี้ยว อาหารจากถั่วเหลือง เทมเป้
- มารค มาก น. ทาง เช่น ชลมารค สถลมารค. (ส. มารฺค; ป. มคฺค).
- มารชิ มาระชิ, มาระชิด น. “ผู้ชนะมาร” คือ พระพุทธเจ้า. (ป. มารชิ; ส. มารชิตฺ).
- มารชิต มาระชิ, มาระชิด น. “ผู้ชนะมาร” คือ พระพุทธเจ้า. (ป. มารชิ; ส. มารชิตฺ).
- มารดร มานดอน, มานดา น. แม่. (ป. มาตา; ส. มาตฺฤ).
- มารดา มานดอน, มานดา น. แม่. (ป. มาตา; ส. มาตฺฤ).