มุรชะ คือ
มุระชะ
น. ตะโพน, กลองชนิดหนึ่ง. (ป., ส.).
- มุ ก. ตั้งใจเอาจริงเอาจัง เช่น มุดูหนังสือ มุสู้ มุจะเอาชนะให้ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ มานะ เป็น มุมานะ เช่น เขามุมานะทำงาน.
- รชะ ระชะ น. ธุลี, ละออง; ความกำหนัด. ( ป. , ส. ).
- ชะ ๑ ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยน้ำ ในลักษณะและอาการอย่างชะแผล; ชำระล้างด้วยอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วง. ๒
- การชะ n. การทำให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยน้ำ , ตัวอย่างการใช้: การชะหน้าดินของน้ำฝนทำให้ก้อนกรวดไหลลงไปหมดแล้ว
- นีรชะ -รด, -ระชะ น. บัว. (ส.).
- สโรชะ น. ดอกบัว, บัว. (ส. ว่า เกิดในสระ).
- อัตรชะ อัดตฺระ- น. “เกิดจากตัวเอง” หมายถึง ลูกของตัวเอง. (ป.).
- การชะงัก n. การหยุดลงกลางคันทันที ชื่อพ้อง: การหยุด, การชะงักงัน, การหยุดชะงัก ตัวอย่างการใช้: เกิดการชะงักในการผลิตสินค้าเนื่องจากคนงานประท้วง
- การชะงักงัน การทำให้แตกแยกออกเป็นชิ้น ๆ ช่วงระยะเวลาที่หยุด -s.disruption ภาวะที่ถูกทำให้แตกแยกออก การชะงัก การหยุด การหยุดชะงัก
- การชะลอ n. การทำให้ช้าลง, การทำให้ช้าลงเพื่อรอ , ตัวอย่างการใช้: การชะลอของเครื่องจักรทำให้ผลิตงานได้ช้าลง
- การชะล้าง การชําระล้าง การชะละลาย การซัก การล้างบาป คราบของเหลว สิ่งที่ได้จากการล้าง เสื้อผ้าที่ซักด้วยกันในครั้งหนึ่ง ๆ การกําจัด การซักล้างด้วยน้ํา การขัดให้สะอาด
- ชะงุ้ม ว. เป็นเพิงงุ้มลงมา.
- มัชชะ มัดชะ- น. น้ำเมา, ของเมา. (ป. มชฺช).
- มุญชะ มุนชะ น. พืชจำพวกหญ้าปล้อง; ปลาค้าว. (ป., ส.).
- มุทธชะ มุดทะ- (ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากการม้วนลิ้นไปสู่เพดานแข็งตอนหลัง ได้แก่พยัญชนะวรรค ฏ คือ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ และอักษร ร รวมทั้งอักษร ฬ ในภาษาบาลี และ ษ กับ ฤ ฤๅ ในภาษาสันสกฤต. (ป.; ส.