ย้ำ คือ
สัทอักษรสากล: [yam] การออกเสียง:
"ย้ำ" การใช้"ย้ำ" อังกฤษ"ย้ำ" จีน
ความหมายมือถือ
- ก. พูดหรือทำซ้ำ ๆ (เพื่อเน้นให้แน่น ให้กระชับ ให้มั่นคง) เช่น พูดย้ำ ย้ำหัวตะปู.
ว. อาการที่กัดเบา ๆ เพียงให้บุบหรือเป็นรอยช้ำ เช่น หมากัดย้ำ แต่ไม่เข้า เคี้ยวพอย้ำ ๆ.
- ย่ำ ก. เหยียบหนัก ๆ ซ้ำ ๆ, ถ้าเหยียบในลักษณะเช่นนั้นอยู่กับที่เรียกว่า ย่ำเท้า, เดินในลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น; ตีกลองหรือฆ้องถี่ ๆ หลายครั้งเพื่อบอกเวลาสำหรับเปลี่ยนยาม เรียกว่า ย่ำกลอง ย่ำฆ้อง, ย่ำยาม
- ย้ำ ๆ ก. พูดหรือทำซ้ำ ๆ (เพื่อเน้นให้แน่น ให้กระชับ ให้มั่นคง) เช่น พูดย้ำ ย้ำหัวตะปู. ว. อาการที่กัดเบา ๆ เพียงให้บุบหรือเป็นรอยช้ำ เช่น หมากัดย้ำ แต่ไม่เข้า เคี้ยวพอย้ำ ๆ.
- ยิงกระหน่ำ โจมต
- สะพานที่ยื่นออกไปในน้ำ ท่าเรือชนิดยื่นออกไปในน้ำ ท่าเรือใหญ่ ผูกกับท่าเรือ ฝาค้ำ ฝาหรือเสากลางหน้าต่าง เขื่อนกันคลื่น เสาสะพาน
- กร่ำ ๑ กฺร่ำ น. ที่ล่อปลาให้เข้าไปอยู่ ใช้ไม้ปักตามชายฝั่งลำแม่น้ำ เป็นรูปกลมบ้าง รีบ้าง ภายในสุมด้วยกิ่งไม้เพื่อล่อให้ปลาเข้าอาศัย เมื่อเวลาจะจับก็เอาเฝือกหรืออวนล้อม แล้วเอาไม้ที่สุมนั้นออก, เขียนเป็น
- กล่ำ ๑ กฺล่ำ น. ชื่อมาตราเงินโบราณ ๒ กล่อม เท่ากับ ๑ กล่ำ คือ อัฐ, ๒ กล่ำ เป็น ๑ ไพ. (กล่ำ ได้แก่ มะกล่ำตาช้าง, กล่อม ได้แก่ มะกล่ำตาหนู). ๒ กฺล่ำ น. เครื่องดักปลาชนิดหนึ่ง. (ดู กร่ำ ๑). ๓ กะหฺล่ำ (โบ; ก
- กล้ำ กฺล้ำ ก. ควบ เช่น กล้ำอักษร อักษรกล้ำ, ทำให้เข้ากัน, กลืนกัน, เช่น กล้ำเสียง เสียงกล้ำ, มีโทษอันหนึ่งไซร้ กลบกล้ำพันคุณ. (โลกนิติ), คือดั่งปากเว้นกล้ำ แกล่เหมี้ยงหมากพลู. (โลกนิติ), กัลยาจะกล้ำอำควา
- ก่ำ ว. สุกใส, เข้ม, จัด, (มักใช้แก่สีแดงหรือทองที่สุก).
- ก้ำ (โบ) น. ด้าน, ฝ่าย, ทิศ.
- ขม้ำ ขะม่ำ ก. เอาปากงับกินเร็ว ๆ (ใช้แก่สุนัขเป็นต้น ถ้าใช้แก่คน ถือว่าเป็นคำไม่สุภาพ).
- ขย้ำ ขะย่ำ ก. เอาปากงับกัดอย่างแรง, โดยปริยายหมายถึงการทำร้ายด้วยวาจาหรือการกระทำอย่างรุนแรง.
- คร่ำ ๑ คฺร่ำ ว. เรียกของเหลวในถุงเยื่อหุ้มลูกในมดลูกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทำหน้าที่ลดผลการกระทบกระแทก และช่วยหล่อลื่นในตอนคลอดเป็นต้น ว่า น้ำคร่ำ เรียกถุงเยื่อหุ้มที่บรรจุน้ำคร่ำว่า ถุงน้ำคร่ำ. ๒ คฺร่ำ
- คล่ำ คฺล่ำ น. หมู่. ว. สับสน, เกลื่อนกล่น, มาก, มักใช้คู่กับคำ คลา เป็น คลาคล่ำ.
- คล้ำ คฺล้ำ ว. ค่อนข้างดำ, ไม่ผ่องใส, หม่นหมอง, เช่น ผิวคล้ำ หน้าคล้ำ.
- คว่ำ คฺว่ำ ก. พลิกเอาด้านบนลงล่าง เช่น รถคว่ำ เรือคว่ำ; กิริยาที่เอาด้านหน้าลง เช่น นอนคว่ำ, กิริยาที่เอาด้านบนลงล่าง เช่น คว่ำชาม, ตรงข้ามกับ หงาย; เรียกใบหน้าที่แสดงอาการไม่พอใจหรือโกรธจนไม่เงยหน้าขึ้น
ประโยค
- ถ้าเข้าใจจริงๆตอนนี้เศรษฐกิจมันย้ำแย่นักหรือไง
- ของราชินีทรงย้ำเสมอเตือนไม่ให้ละเมิดข้อห้ามนี้
- ตอนนี้ฉันเข้าใจแล้วว่าเธอรู้สึกยังไงที่โดนขย้ำ
- ย้ำอีกครั้ง ชายผิวขาว วัยกลางคน แต่งงานและมีบุตร
- ข้าเน้นย้ำเพื่อให้เกียรติท่านและสนามฝึกแห่งนี้
- ย้ำ ถ้าเจอใครถ่ายคลิป ยึดมือถือเลย ผมไม่สนว่าใคร
- แม่ไม่ต้องการให้ลูกตอกย้ำว่า แม่ตกอยู่ในอันตราย
- ท่านมาเพื่อย้ำเตือนข้า ว่าศัตรูกล่าวโป้ปดเช่นไร
- ข้าอยากได้แผลขย้ำแบบ ตรงไหล่หรือหลังนี่กำลังสวย
- แม้ว่าฉันจะถูกเหยียบย้ำ แต่ฉันก็จะลุกขึ้นได้อีก