ราชสูยะ คือ
- น. พิธีราชาภิเษกของอินเดียโบราณ. (ส.).
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราช ๑ ราด, ราดชะ- น. พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คำนี้มักใช้ประกอบกับคำอื่น,
- สู ๑ ( วรรณ ) ว. อาย เช่น มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู. ( ตะเลงพ่าย ). ๒ ( โบ ) ส. ท่าน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
- ยะ ๑ คำประกอบข้างหน้าคำที่ตั้งต้นด้วย ย ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ยะยอง ยะยั่ง ยะยัด ยะย้อย ยะย้าย. ๒ ว.
- ราชสีห์ น. พญาสิงโต, สิงหราช หรือ สีหราช ก็เรียก; สัตว์ในนิยาย ถือว่ามีความดุร้ายและมีกำลังมาก, สิงห์ ก็เรียก. (ป. ราช + สีห; ส. ราช + สึห).
- ราชสกุล น. ตระกูลฝ่ายพระราชา.
- ราชสํานัก พระราชวัง พระราชสํานัก วัง นฤปเวศม์ ศาล
- กวีราชสำนัก กวีประจำราชสำนัก
- ข้าราชสํานัก ข้าราชบริพาร ข้าหลวง บริวาร
- นครราชสีมา n. ชื่อจังหวัดหนึ่งในประเทศไทยอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อพ้อง: จังหวัดนครราชสีมา clf.: จังหวัด
- พญาราชสีห์ สิงหราช สีหราช
- ราชสมบัติ น. สมบัติของพระมหากษัตริย์; ความเป็นพระมหากษัตริย์ เช่น ขึ้นครองราชสมบัติ.
- ราชสันตติวงศ์ (กฎ) น. ลำดับชั้นพระบรมราชวงศ์ในการสืบราชสมบัติตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์.
- ราชสาสน์ n. จดหมายของพระมหากษัตริย์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ ชื่อพ้อง: พระราชสาสน์
- ราชสาส์น ราดชะสาน น. จดหมายของพระมหากษัตริย์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ เรียกว่า พระราชสาส์น.