ล่วงคำ คือ
- ล่วง ก. ผ่านจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น เดินล่วงเข้าไปในเขตหวงห้าม เวลาล่วงไปหลายปี.
- วง น. รูปที่มีเส้นที่โค้งเข้ามาบรรจบกัน ล้อมรอบเป็นขอบเขตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น วงกลม วงรี, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่รวมกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม เช่น
- คำ ๑ น. ทองคำ เช่น หอคำ เชียงคำ. ๒ น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด
- ล้วงคอ (ปาก) ก. บังอาจลักขโมยหรือล่อลวงเอาทรัพย์สินเป็นต้นจากผู้ที่น่าเกรงขาม.
- ล้วงควัก ก. หยิบฉวยเอาสิ่งของเป็นต้นไปโดยพลการ เช่น มาล้วงควักข้าวสาร ถ่าน เกลือของเจ้าของบ้านไป.
- ล้วงคองูเห่า (ปาก) ก. บังอาจลักขโมยหรือล่อลวงเอาทรัพย์สินเป็นต้นจากผู้ที่น่าเกรงขาม.
- คลังคำ อรรถาภิธาน
- คำบังคับ (กฎ) น. คำสั่งของศาลซึ่งออกเพื่อสั่งให้คู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง.
- ทองคำ น. ธาตุลำดับที่ ๗๙ สัญลักษณ์ Au เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเหลือง หลอมละลายที่ ๑๐๖๓ °ซ. เนื้ออ่อนมาก บุให้เป็นแผ่นจนมีความหนาน้อยกว่า ๐.๐๐๐๑ มิลลิเมตรได้ ใช้ทำรูปพรรณต่าง ๆ และทำเงินตรา ปัจจุบันกำห
- เกี๋ยงคำ (ถิ่น-พายัพ) น. ต้นลำเจียก. (ดู ลำเจียก).
- เอี้ยงคำ (ถิ่น-พายัพ) น. นกขุนทอง. (ดู ขุนทอง).
- คำนัล (กลอน) ก. เฝ้าเจ้านาย. (ข. คํนาล่).
- คำมูล น. คำคำเดียวที่ไม่ได้ประสมกับคำอื่น เช่น ยาม แขก นาฬิกา.
- ลั่นคำ v. พูดเป็นเชิงให้สัญญา, ให้คำมั่น ชื่อพ้อง: ลั่นปาก, ลั่นวาจา ตัวอย่างการใช้: โคชลั่นคำจะพาทีมไปให้ถึงฝันให้ได้
- ลูกคำ น. เรียกคำ ๒ คำเมื่อเอามาประสมกันแล้วมีความหมายต่างไปจากคำเดิมว่า ลูกคำของคำตั้ง เช่น ลูกค้า ลูกเขย เป็นลูกคำของคำ ลูก.