วิคหะ คือ
วิกคะ-
น. การทะเลาะ, การโต้เถียง; ร่างกาย, รูปร่าง, ตัว; การแยกออกเป็นส่วน ๆ. (ป. วิคฺคห; ส. วิคฺรห).
- วิ คำนำหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. ( ป. , ส. ).
- คห คะหะ- ( แบบ ) น. เรือน, ใช้เป็นคำหน้าสมาส เช่น คหกรรม. ( ป. ).
- หะ ว. เสียงเปล่งเพื่อให้ลงมือพร้อมกัน.
- นิคหะ นิกคะหะ-, นิกคะหะ (แบบ) น. การข่ม, การปราบปราม. (ป. นิคฺคห).
- ปัคหะ ปักคะ- (แบบ) น. ประเคราะห์, การยกย่อง. (ป. ปคฺคห).
- สังคหะ (แบบ) น. การรวบรวม; การย่อ; ความเกื้อกูล, ความเอื้อเฟื้อ; การสงเคราะห์. (ป.; ส. สํคฺรห).
- อุคหะ อุกคะหะ- น. การเล่าเรียน. ว. เจนใจ. (ป. อุคฺคห).
- เคหะ น. เรือน, ที่อยู่. (ป., ส. เคห).
- การเคหะ เศรษฐกิจ
- ธาราเคหะ น. ห้องอาบน้ำที่มีฝักบัว. (ป.; ส. ธาราคฺฤห).
- วิวาหะ วิวาหะ- น. “การพาออกไป” หมายถึง การแต่งงานแบบหนึ่งที่ฝ่ายชายจะต้องถูกนำไปอยู่ที่บ้านฝ่ายหญิง เรียกว่า วิวาหมงคล, เป็นประเพณีแต่งงานที่นิยมปฏิบัติกันในประเทศอินเดียฝ่ายใต้, การแต่งงานตามประเพณีไทย ไม
- คห- คะหะ- (แบบ) น. เรือน, ใช้เป็นคำหน้าสมาส เช่น คหกรรม. (ป.).
- การเคหะแห่งชาติ กคช.
- วิริยะอุตสาหะ ความบากบั่น ความเพียร วิริยะ
- คหัฐ คะหัด (ปาก) น. คฤหัสถ์. (ป. คหฏฺ).