วิสิฐ คือ
ความหมายมือถือ
- ว. วิศิษฏ์. (ป. วิสิฏฺ; ส. วิศิษฺฏ).
- วิ คำนำหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. ( ป. , ส. ).
- สิ คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ,
- วุฐิ วุดถิ น. ฝน. (ป. วุฏฺิ; ส. วฺฤษฺฏิ).
- สัฐิ สัดถิ ว. หกสิบ. (ป. สฏฺิ; ส. ษษฺฏิ).
- พิสิฐ ว. ประเสริฐ, วิเศษ. (ป. วิสิฏ; ส. วิศิษฺฏ).
- สันทิฐิก สันทิดถิกะ- (แบบ) ว. ควรเห็นเอง, เป็นคุณของพระธรรมอย่างหนึ่ง. (ป. สนฺทิฏฺิก; ส. สานฺทฺฤษฺฏิก).
- สันทิฐิก- สันทิดถิกะ- (แบบ) ว. ควรเห็นเอง, เป็นคุณของพระธรรมอย่างหนึ่ง. (ป. สนฺทิฏฺิก; ส. สานฺทฺฤษฺฏิก).
- สัสตทิฐิ น. ลัทธิที่ถือว่าโลกและวิญญาณเป็นของเที่ยงไม่เสื่อมสูญ. (ป. สสฺสตทิฏฺfig0129.jpg (ฐิ)).
- สัมมาทิฐิ น. ความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว. (ป. สมฺมาทิฏฺิ).
- ผู้ว่าการรัฐ ข้าหลวง ผู้ควบคุม ผู้ปกครอง เจ้าเมือง
- สักกายทิฐิ น. ความยึดถือว่ากายหรือตัวเป็นของตน. (ป. สกฺกายทิฏฺfig0129.jpg (ฐิ);).
- สิ่งที่คล้ายอิฐ ก้อนอิฐ คนใจดี อิฐ
- อัฐิสัณฐาน น. ทรงกระดูก.
- วิสาหกิจของรัฐ วิสาหกิจของชาติ
- วัส วัดสะ- น. ฝน, ฤดูฝน; ปี. (ป.; ส. วรฺษ).