เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ศาสน- คือ

สัทอักษรสากล: [sā sa na] [sāt sa na]  การออกเสียง:
"ศาสน-" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • สาสะนะ-, สาดสะนะ-, สาดสะหฺนา
    น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ. (ส. ศาสน ว่า คำสอน, ข้อบังคับ; ป. สาสน).
  • ศาสน     สาสะนะ-, สาดสะนะ-, สาดสะหฺนา น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
  • สน     ๑ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น สนสองใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกหนา ( Pinus merkusii Jungh. de Vriese), สนสามใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกบาง (
  • (ศาสน)    เป็นคำที่ใช้ในศาสนศาสตร์
  • ศาสนา    สาสะนะ-, สาดสะนะ-, สาดสะหฺนา น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการ
  • ศาสนีย    สาสะนียะ-, สาสะนี ว. สมควรจะสั่งสอน. (ส.).
  • ศาสนีย-    สาสะนียะ-, สาสะนี ว. สมควรจะสั่งสอน. (ส.).
  • ศาสนีย์    สาสะนียะ-, สาสะนี ว. สมควรจะสั่งสอน. (ส.).
  • ศาสน์    (โบ) น. คำสั่ง, คำสั่งสอน, โดยปริยายหมายถึง พระราชหัตถเลขาทางราชการและลิขิตของสมเด็จพระสังฆราช เช่น พระราชศาสน์ สมณศาสน์. (ส.; ป. สาสน).
  • อนุศาสน์    น. การสอน; คำชี้แจง. (ส.; ป. อนุสาสน).
  • ครูศาสนา    ปราชญ์ ผู้รอบรู้
  • ศาสนกิจ    น. งานทางศาสนาที่ภิกษุสามเณรเป็นต้นปฏิบัติ เช่น การทำวัตรสวดมนต์และการเผยแผ่ศาสนาเป็นศาสนกิจของสงฆ์.
  • ศาสนจักร    สาสะนะจัก, สาดสะนะจัก น. อำนาจปกครองทางศาสนา เช่น ไตรภูมิโลกวินิจฉัยเป็นวรรณกรรมฝ่ายศาสนจักร, ถ้าเป็นฝ่ายพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธจักร, ถ้าเป็นฝ่ายคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสตจักร, คู่กับ อาณาจักร ซึ
  • ศาสนพิธี    น. พิธีกรรมทางศาสนา เช่น พิธีทอดกฐิน พิธีอุปสมบท เป็นศาสนพิธีของพระพุทธศาสนา.
  • ศาสนวัตถุ    น. วัตถุที่เกี่ยวเนื่องทางศาสนา มักเป็นสิ่งที่เคารพบูชา เช่น พระพุทธรูปเป็นศาสนวัตถุในพระพุทธศาสนา.
  • ศาสนิกชน    น. บุคคลที่นับถือศาสนา เช่น ศาสนิกชนของพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธศาสนิกชน ศาสนิกชนของคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสต์ศาสนิกชน.