เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ศิษฎิ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • สิดสะดิ
    น. การสอน. (ส. ศิษฺฏิ ว่า การปกครอง, การลงโทษ).
  • กฤษฎาญชวลิศ    กฺริดสะดา, -ดาน, -ดานชะลิด, -ดานชะลี, -ดานชะวะลิดตะวา, -ดานชะวะลิด, -ดานชะวะเลด, -ดานชุลี (โบ; กลอน) แผลงมาจาก กฤดาญชลี เช่น ถวายอภิวันทกฤษฎาญกฤษฎาการกราบเกล้า. (ม. คำหลวง มัทรี; ฉกษัตริย์), กฤษฎาญช
  • ศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต    อักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต
  • ศ.    ศุกร์ วันศุกร์ ศาสตราจารย์ โปรเฟสเซอร์
  • ดุษฎี    ดุดสะดี น. ความยินดี, ความชื่นชม. (ส.).
  • อัษฎ    อัดสะดะ- ว. แปด. (ส.; ป. อฏฺ).
  • อัษฎ-    อัดสะดะ- ว. แปด. (ส.; ป. อฏฺ).
  • ศิศุ    น. เด็ก, เด็กแดง ๆ, เด็กเล็ก. (ส.).
  • กฤษฎา    ๑ กฺริดสะดา (โบ; กลอน; แผลงมาจาก กฤด) ว. ที่ทำแล้ว เช่น เพื่อพระราชกฤษฎา แต่กี้ (ราชกิจที่ทรงทำมาแล้ว). (ตะเลงพ่าย). ๒ กฺริดสะ- (โบ; กลอน) แผลงมาจาก กฤดาภินิหาร เช่น เชิญชมชื่นกฤษฎา. (ม. คำหลวง ฉกษั
  • กฤษฎี    กฺริดสะดี (แบบ; กลอน) น. รูป เช่น พระอินทราธิราชแปรกฤษฎี. (สมุทรโฆษ). (ส. อากฺฤติ = รูป).
  • กฤษฎีกา    กฺริดสะ- น. แผลงมาจาก กติกา เช่น ก็รับพระกฤษฎีกากำหนดแห่งพระดาบสว่าสาธุแล. (ม. คำหลวง วนปเวสน์); (กฎ) บทกฎหมายซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้น เพื่อใช้ในการบริหาร เรียกว่า พระราชกฤษฎีกา; ชื่อคณะกรรมการป
  • ทฤษฎี    ทฺริดสะดี น. ความเห็น; การเห็น, การเห็นด้วยใจ; ลักษณะที่คิดคาดเอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างมีระเบียบ. (ส.; ป. ทิฏฺิ). (อ. theory
  • ทฤษฎีบท    น. ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้. (อ. theorem).
  • ธุวยัษฎี    น. เพลา (หรือเส้น) แห่งขั้วโลกทั้ง ๒. (ส. ธฺรุวยษฺฏี).
  • ปฤษฎ์    ปฺริด น. หลัง, เบื้องหลัง. (ส. ปฺฤษฺ; ป. ปิฏฺ).
  • ราษฎร    ราดสะดอน, ราด น. พลเมืองของประเทศ. (ส.).