เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สกิทาคามิผล คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • สะกะ-, สะกิ-
    น. ธรรมที่พระสกทาคามีได้บรรลุ. (ป. สกทาคามิผล, สกิทาคามิผล; ส. สกฺฤทาคามินฺ + ผล). (ดู ผล).
  • สก     สะกะ- ว. ของตน. ( ป. ; ส. สฺวก). ๒ น. ผม. ( ข. สก่). ๓ ( โบ ) ก. สะเด็ดน้ำ เช่น เอาข้าวที่ซาวน้ำแล้วใส่ในตะแกรงเพื่อให้น้ำแห้ง
  • ทา     ก. คำรวมหมายถึงกิริยาอาการที่เอาของเปียกหรือของเหลวเป็นต้น ฉาบ ลูบ ไล้ ป้าย หรือบ้าย เช่น ทาสี ทาแป้ง ทาปาก ทายา, ถ้าทาเกลือกหรือเคลือบแต่ผิว ๆ
  • คา     ๑ น. เครื่องจำคอนักโทษ ทำด้วยไม้. ๒ ก. ค้างอยู่, ติดอยู่, เช่น ข้าวคาปาก คาถ้วยคาชาม. ว. ยังไม่พ้นไปจากที่นั้น ๆ เช่น ยืนคาประตู สุกคาต้น
  • คาม     คามะ-, คามมะ- ( แบบ ) น. บ้าน, หมู่บ้าน. ( ป. ).
  • มิ     ๑ ว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ. ๒ ก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).
  • ผล     น. ลูกไม้ เช่น ผลมะม่วง ผลมะปราง; สิ่งที่เกิดจากการกระทำ เช่น ผลแห่งการทำดี ผลแห่งการทำชั่ว; ประโยชน์ที่ได้รับ เช่น ทำนาได้ผล เรียนได้ผล;
  • สกทาคามิผล    สะกะ-, สะกิ- น. ธรรมที่พระสกทาคามีได้บรรลุ. (ป. สกทาคามิผล, สกิทาคามิผล; ส. สกฺฤทาคามินฺ + ผล). (ดู ผล).
  • สกิทาคามี    น. สกทาคามี.
  • สกทาคามี    สะกะ-, สะกิ- น. “ผู้มาสู่กามภพอีกครั้งหนึ่ง” เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นที่ ๒ ใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีก็เรียกสั้น ๆ ว่า พระสกทาคา หรือ พระสกิทาคา. (ป.; ส. สก
  • สกทาคามิมรรค    -มัก น. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระสกทาคามี. (ส. สกฺฤทาคามินฺ + มารฺค; ป. สกทาคามิมคฺค, สกิทาคามิมคฺค). (ดู มรรค).
  • สกิทาคามิมรรค    -มัก น. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระสกทาคามี. (ส. สกฺฤทาคามินฺ + มารฺค; ป. สกทาคามิมคฺค, สกิทาคามิมคฺค). (ดู มรรค).
  • อนาคามิผล    น. ธรรมที่พระอนาคามีได้บรรลุ. (ป.; ส. อนาคามินฺ + ผล). (ดู ผล).
  • อาทาคามา    ชิลี สาธารณรัฐชิลี คอนเซปซิโอ คัวติน คูริโค ซานติอาโก ทาราปาคา ทาลคา นูเบิล มัวลี มากัลลาเนส มาลลิโค วาลดิเวีย วาลปาไรโซ อันโตฟากัสตา อาคองคากัว อารัวโค โคคิมโบ โคลชากัว โอซอร์โน โอฮิกกินส์
  • คําอุทานแสดงความรําคาญ    คําสบถที่ใช้เวลาที่รู้สึกหงุดหงิดรําคาญ
  • อนาคามี    น. “ผู้ไม่มาสู่กามภพอีก” เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นที่ ๓ ใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีเรียกสั้น ๆ ว่า พระอนาคา. (ป.; ส. อนาคามินฺ).