สนทิศ คือ
- ก. ชี้แจง, สั่ง, บอกกล่าว, ประกาศ. (ส. สํ + ทิศ).
- สน ๑ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น สนสองใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกหนา ( Pinus merkusii Jungh. de Vriese), สนสามใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกบาง (
- นท นด ( แบบ ) น. ผู้บันลือ, ผู้ร้อง, ผู้ลั่น; แม่น้ำ, ลำน้ำ, เช่น ชมพูนท (แปลว่า เกิดในแม่น้ำชมพูนที คือ ทองคำบริสุทธิ์). ( ป. , ส. ).
- ทิศ น. ด้าน, ข้าง, ทาง, เบื้อง, (หมายเอา เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก เป็นต้น). ( ส. ; ป. ทิส).
- ศันสนะ สันสะ- น. การสรรเสริญ, การบอกเล่า. (ส. ศํสน).
- ศันสนีย์ -สะนี ว. พึงสรรเสริญ, พึงชม. (ส. ศํสนีย).
- ศักรินทร์ น. พระอินทร์ผู้เป็นใหญ่. (ส. ศกฺร + อินฺทฺร).
- คนที่ศึกษาในโรงเรียนศาสนา นักธรรมะ ผู้ฝึกฝนธรรมะ ผู้ฝึกเป็นพระ ผู้ศึกษาด้านศาสนศาสตร์
- ศีลมหาสนิท น. พิธีดื่มเหล้าองุ่นแดงและกินขนมปังที่เสกแล้ว ซึ่งถือเป็นเครื่องหมายแทนเลือดและเนื้อที่พระเยซูทรงเสียสละไถ่บาปให้มนุษย์และมีเลือดเนื้อเดียวกับพระองค์.
- คนที่ดีเลิศ สิ่งดีเลิศ คนที่มีค่าที่สุด ผู้มีค่า
- สนทนา สนทะ- ก. คุยกัน, ปรึกษาหารือกัน, พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น สนทนาปัญหาบ้านเมือง สนทนาสารทุกข์สุกดิบ. ว. ที่คุยกัน, ที่ปรึกษาหารือกัน, ที่พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น บทสนทนาในนวนิยาย บทสนทนาภาษาอังกฤษ. (เทียบ ป.
- สันทัสนะ สันทัดสะนะ น. การแสดง, การชี้แจง. (ป. สนฺทสฺสน).
- คนที่สนุกสนาน คนที่ขยันขันแข็ง เข้มแข็งและเด็ดเดี่ยว
- คู่สนทนา คู่คุย เพื่อนคุย
- สนทรรศ -ทัด น. ภาพ, สิ่งที่ปรากฏ. (ส. สํ + ทรฺศ).
- เป็นที่สนใจ เด่นชัด เตะตา