เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สมัญญา คือ

การออกเสียง:
"สมัญญา" การใช้"สมัญญา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • สะมันยา
    น. ชื่อที่มีผู้ยกย่องหรือตั้งให้ เช่น พระพุทธเจ้าได้รับสมัญญาว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ศาสดาของศาสนาเชนได้รับสมัญญาว่า มหาวีระ เพราะเป็นผู้มีความกล้าหาญมาก. (ป.).
  • สม     ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
  • สมัญญานาม    นาม ชื่อ นามกร นามา สมญานาม นามแฝง นามปากกา ชื่อปลอม นามสมมุติ
  • บุญญาธิสมภาร    น. บุญที่ได้สั่งสมไว้มากยิ่ง.
  • กัญญา    ๑ กันยา น. สาวรุ่น, สาวน้อย. (ป.; ส. กนฺยา). ๒ กันยา น. เครื่องบังแดดรูปหลังคา ใช้สำหรับแคร่หามหรือเรือยาวเพื่อเป็นเกียรติยศ, เรียกแคร่หามหรือเรือยาวที่มีกัญญาว่า แคร่กัญญา เรือกัญญา. ๓ กันยา น. เรี
  • ข้อสัญญา    ข้อตกลง ข้อผูกพัน สัญญา หนังสือสัญญา เอกสาร ข้อผูกมัด พันธะ สัญญาผูกมัด การซื้อขาย การตกลง การทําความตกลง การตกลงซื้อขาย การตกลงราคา การติดต่อธุรกิจ สนธิสัญญา อนุสัญญา
  • คู่สัญญา    (กฎ) น. บุคคล ๒ ฝ่ายหรือหลายฝ่ายซึ่งมีความผูกพันตามสัญญา.
  • คําสัญญา    คําปฏิญาณ คํามั่น คําสัตย์ สัจจะ คํามั่นสัญญา คําสาบาน สัตย์ สัญญา หนังสือสัญญา คํารับรอง คํารับประกัน ข้อตกลง
  • จนปัญญา    มืดมน หมดหนทาง อับจนหนทาง หมดปัญญา คิดไม่ออก จนด้วยเกล้า สุดคิด หมดปัญญาคิด มืดแปดด้าน อั้นตู้ ไม่รู้เรื่อง ไม่เข้าใจ หมดทางแก้ไข สิ้นหนทาง สุดปัญญา ตันปัญญา สุดหนทาง จนใจ ไม่มีทางคิด อับปัญญา ขาดทุ
  • ตันปัญญา    ก. จนปัญญา, คิดอะไรไม่ออก.
  • ต่อสัญญา    v. ยืดเวลาของสัญญาเดิมให้ยาวนาน renew a contract/agreement คำตรงข้าม: หมดสัญญา ตัวอย่างการใช้: บริษัทต่อสัญญาเช่าสำนักงานไปอีก 2 ปี
  • ทำสัญญา    เซ็นสัญญา ทำสัญญาว่าจ้าง
  • ทุปปัญญา    ทุบ- (แบบ) น. ปัญญาทราม. (ป.).
  • ทําสัญญา    ทําข้อตกลง ตกลง ทําความตกลง ลงนาม ลงลายลักษณ์อักษร ทําข้อตกลงกัน ผูกมัดด้วยข้อตกลง
  • ปฏิญญา    ปะตินยา น. การให้คำมั่นสัญญาหรือการแสดงยืนยันโดยถือเอาสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือความสุจริตใจเป็นที่ตั้ง. (ป.).
  • ปริญญา    ปะรินยา น. ความกำหนดรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบ; ชั้นความรู้ขั้นมหาวิทยาลัยซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามที่กำหนดไว้, ถ้าประสาทแก่ผู้ทรงวิทยาคุณหรือผู้มีเกียรติตามที่เห็นสมควร เรียกว่า ปริญญาก