สลดหดหู่ คือ
สัทอักษรสากล: [sa lot hot hū] การออกเสียง:
"สลดหดหู่" การใช้"สลดหดหู่" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- ตรอมใจ
เศร้า
เศร้าโศก
ใจคอห่อเหี่ยว
- สลด สะหฺลด ก. สังเวชใจ, รู้สึกรันทดใจ; เผือด, ถอดสี, เช่น หน้าสลด; เฉา, เหี่ยว, (ใช้แก่ใบไม้ดอกไม้ซึ่งขาดน้ำเลี้ยงหรือถูกความร้อน) เช่น
- ลด ก. น้อยลง ต่ำลง หรือทำให้น้อยลงต่ำลงกว่าที่มีอยู่เป็นอยู่แต่เดิม เช่น น้ำลด ลดโทษ ลดราคา ลดน้ำหนัก ไข้ลด ลดธงลงจากเสา, ผ่อนลง เช่น ลดฝีเท้า
- หด ก. สั้นเข้า, ย่นเข้า, เช่น เสื้อหด, น้อยลง เช่น ทุนหายกำไรหด; ชักกลับ เช่น หดมือ หดเท้า, โดยปริยายหมายถึงอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กลัวจนหัวหด.
- หดหู่ ก. ห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน, สลดใจ, เช่น เห็นสภาพบ้านเมืองทรุดโทรมแล้วใจคอหดหู่. ว. อาการที่รู้สึกห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน เช่น วันนี้เขาพบแต่เรื่องเศร้า
- หู น. ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ ทำหน้าที่สำหรับฟังเสียง; ส่วนแห่งสิ่งของที่ทำไว้หิ้ว แขวน ร้อย หรือรูดเข้าออก เช่น หูกระทะ หูมุ้ง หูกางเกง หูถุง;
- หู่ ก. ยู่เข้า, หดเข้า, ห่อเข้า.
- น่าสลดหดหู่ น่าสลด น่าหดหู่ น่าเศร้า
- ความสลดหดหู่ ความสลด ความเศร้าเสียใจ
- หดหู้ ยางไหม้เกรียม
- น่าหดหู่ 1) adj. ที่ห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน ชื่อพ้อง: น่าสลด, น่าสลดหดหู่, น่าเศร้า คำตรงข้าม: น่ายินดี ตัวอย่างการใช้: ฉันไม่ชอบบรรยากาศที่น่าหดหู่เช่นนี้เลย 2) v. , ชื่อพ้อง: น่าสลด, น่าสลดหดหู่
- หดหัว ก. ชักหัวกลับ, โดยปริยายหมายความว่า กลัวหรือหลบไม่ยอมโผล่หน้าออกไป เช่น มัวหดหัวอยู่แต่ในบ้าน.
- หดหาย ก. น้อยลง, หมดไป, เช่น ยิ่งค้าขายนานวันเข้า ทุนรอนก็ยิ่งหดหายไป.
- หดหู่ใจ สลดใจ เศร้า เสียใจ เศร้าซึม เศร้าโศก ห่อเหี่ยว ท้อแท้ สิ้นหวัง หมดกําลังใจ หมดหวัง ซึมเศร้า โศกเศร้า หดหู่ เหี่ยวแห้ง ไร้ความสุข เศร้าใจ เศร้าหมอง ไม่สบายใจ ซึมเซา เศร้าสลด
- ใจหดหู่ ดูdreary ทึมทึบ ไม่เบิกบาน
- เสลดหางวัว น. เมือกข้นเหนียวที่ตีขึ้นมาจุกที่คอและปิดหลอดลม ทำให้หายใจไม่ออก, เสลดหางงัว ก็เรียก.