สอดส่ายสายตา คือ
"สอดส่ายสายตา" การใช้"สอดส่ายสายตา" อังกฤษ
- สอ ๑ ว. ขาว เช่น ดินสอพอง. ( เทียบ เขมร ส ว่า ขาว). ๒ ว. ประดังกัน เช่น วิ่งสอกันมารับหน้า, หลั่งออกมาออ ในคำว่า น้ำลายสอ. ๓ น. คอ. ( ข.
- สอด ก. เสือกหรือใส่เข้าไปในช่องหรือในระหว่างที่แคบ ๆ เช่น สอดจดหมายเข้าไปใต้ประตู สอดขาเข้าไปในกางเกง, ใส่ เช่น สอดสนับเพลา, แทรกเข้าไประหว่างกลาง
- สอดส่าย ก. ส่ายตาค้นหา ในคำว่า สอดส่ายสายตา เช่น สอดส่ายสายตาหาเพื่อนที่นัดไว้ ตำรวจสอดส่ายสายตาหาคนร้าย,
- อด ก. กลั้น เช่น เหลืออด, งดเว้น เช่น อดฝิ่น อดอาหาร; ไม่ได้, ไม่สมหวัง, เช่น อดรับรางวัล อดดู; ไม่มีอะไรกิน เช่น อดอยู่ทั้งวัน. ว. ทน เช่น
- ส่า น. สิ่งที่เป็นเชื้อทำให้ปรากฏเป็นฟอง รา หรือเม็ดผื่นเป็นต้นแก่สิ่งอื่นบางลักษณะ.
- ส่าย ๑ ก. แกว่งไปมา เช่น ส่ายผ้าอ้อมในน้ำ, ย้ายไปมา เช่น ส่ายหัว ส่ายสะโพก ว่าวส่าย. น. กระโปรงยาวที่ผู้หญิงนุ่ง. ๒ ว.
- สา ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
- สาย ๑ น. เวลาระหว่างเช้ากับเที่ยงประมาณ ๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๐๐ น. เช่น พอสายก็ออกเดินทาง. ว. ช้ากว่าเวลาที่กำหนด, ล่าช้า, เช่น มาทำงานสาย,
- สายตา น. ระยะที่ตาจะมองเห็นได้ เช่น สุดสายตา อยู่ในสายตา, โดยปริยายหมายความว่า ความเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น
- ตา ๑ น. พ่อของแม่, ผัวของยาย, ชายที่เป็นญาติชั้นเดียวกับพ่อของแม่หรือที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกับตา, ( ปาก ) คำเรียกชายสูงอายุที่ตนไม่ค่อยเคารพนับถือ
- ทอดสายตา ก. มองด้วยอาการสำรวม; ใช้สายตาเป็นสื่อ.
- รอดสายตา รอดหูรอดตา หลงหูหลงตา
- เสียสายตา ก. ทำให้สายตาเสื่อมลงหรือเลวลง เช่น อย่าอ่านหนังสือในที่ที่มีแสงสว่างน้อย จะทำให้เสียสายตา; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียสายตาหรอก, เสียตา ก็ว่า.
- โดยสายตา apparently ตามที่ปรากฎแก่สายตา -s.noticeably โดยการมอง โดยการเห็น โดยทัศนวิสัย
- สุดสายตา ว. สุดระยะที่ตาจะมองเห็น เช่น มองจนสุดสายตา ก็ไม่เห็นต้นไม้สักต้น, สุดวิสัยที่จะมองเห็น เช่น ลูกอยู่สุดสายตาที่พ่อแม่จะตามไปดูแล.
ประโยค
- ฉันสอดส่ายสายตาเพื่อพวกเราทุกคน
- สอดส่ายสายตาของเจ้าไว้
- ฉันจะไปสอดส่ายสายตา