สะดึง คือ
สัทอักษรสากล: [sa deung] การออกเสียง:
"สะดึง" การใช้"สะดึง" อังกฤษ"สะดึง" จีน
ความหมายมือถือ
- น. กรอบไม้สำหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร, กรอบไม้หรือไม้แบบสำหรับขึงผ้าในเวลาปักดิ้นหรือไหมเป็นต้น, ขอบไม้สำหรับขึงเปล มี ๔ ด้าน.
- สะ ๑ ว. สวย. ๒ ก. ใส่หรือสุมเพื่อกันไว้ เช่น เอาหนามสะ.
- ดึง ก. เหนี่ยวมา, ฉุดมา, รั้งมา; ดีด เช่น ดึงพิณ ว่า ดีดพิณ.
- สะดีดสะดิ้ง v. มีกริยาที่ปรุงแต่งจนเกินงาม ชื่อพ้อง: สะดิ้ง ตัวอย่างการใช้: หล่อนสะดีดสะดิ้งราวกับว่าหล่อนไม่ชอบเขา
- สะดุ้งสะดิ้ง ว. ดัดจริตดีดดิ้น, สะดิ้ง ก็ว่า.
- สะดิ้ง (ปาก) ว. ดัดจริตดีดดิ้น เช่น ทำเป็นสะดิ้งไปได้ อย่าสะดิ้งให้มากนัก, สะดุ้งสะดิ้ง ก็ว่า.
- สะดุ้ง ๑ ก. ไหวตัวขึ้นทันทีด้วยความตกใจ เพราะไม่ทันรู้ตัวหรือไม่ได้นึกคาดหมายไว้เป็นต้น เช่น เมื่อได้ยินเสียงระเบิดก็สะดุ้งสุดตัว. ๒ น. เครื่องมือจับสัตว์น้ำชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายยอยก, อีสานเรียก กะดุ้ง.
- ไม้สะดึง น. กรอบไม้หรือไม้แบบสำหรับขึงผ้าในการเย็บปักถักร้อย.
- การสะดุ้ง ความสะดุ้งตกใจ
- ทําให้สะดุ้ง ทําให้ตกใจ
- นาคสะดุ้ง น. ตัวไม้ที่ทำอย่างตัวนาค ทอดต่อลงมาจากแปหาญถึงหางหงส์ ทั้ง ๒ ข้างของหน้าบัน โบราณเรียกว่า เครื่องสะดุ้ง.
- สะดุดหัวแม่โป้ง สะดุด
- หวาดสะดุ้ง หวาดผวา กลัวมาก
- เครื่องสะดุ้ง (โบ) น. นาคสะดุ้ง.
- เสียวสะดุ้ง สะดุ้ง สะดุ้งโหยง
- สะดม ก. ปล้นโดยใช้วิธีรมยาให้เจ้าของทรัพย์หลับสนิทไม่รู้สึกตัว, ใช้เข้าคู่กับคำ ปล้น เป็น ปล้นสะดม. (ข. สณฺฎํ).