สัญประกาศ คือ
"สัญประกาศ" การใช้"สัญประกาศ" อังกฤษ"สัญประกาศ" จีน
สันยะปฺระกาด
น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ - ใช้ขีดไว้ใต้คำหรือข้อความที่สำคัญ เพื่อเน้นให้ผู้อ่านสังเกตเป็นพิเศษ, ขีดเส้นใต้ ก็เรียก.
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ประกาศ ก. ป่าวร้อง, แจ้งให้ทราบ, เช่น ประกาศงานบุญงานกุศล. น. ข้อความที่แจ้งให้ทราบทั่วกัน เช่น ประกาศของวัด ประกาศของบริษัท; ( กฎ )
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ระกา น. ชื่อปีที่ ๑๐ ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย.
- กา ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
- อัญประกาศ อันยะ- น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ “ ” สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความ เพื่อแสดงว่าข้อความนั้นเป็นคำพูด หรือเพื่อเน้นความนั้นให้เด่นชัดขึ้นเป็นต้น.
- อัญประกาศเดี่ยว น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ‘ ’ สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความที่ซ้อนอยู่ภายในข้อความที่มีเครื่องหมายอัญประกาศอยู่แล้ว.
- ปิดคําด้วยอัญประกาศ ปิดคําด้วยเครื่องหมายคําพูด
- เครื่องหมายอัญประกาศ อัญประกาศ เครื่องหมายคำพูด
- (ประกาศ ร. ๔) มาจาก ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ ฉบับโรงพิมพ์คุรุสภา พ.ศ. ๒๕๐๕
- คำประกาศ n. เนื้อความที่บอกให้รู้ทั่วกัน , ตัวอย่างการใช้: ข้าพเจ้าอ่านคำประกาศกล่าวสดุดีหน่วยต่างๆ ที่ทำการรบในศึกคราวนี้ clf.: ฉบับ
- คําประกาศ แถลงการณ์ คําสั่ง การประกาศ ประกาศิต คําแถลง ถ้อยแถลง คําแถลงการณ์ พระราชกําหนด คําชี้แจง กฤษฎีกา กรรมวาจา ประกาศ
- ติดประกาศ v. ติดป้ายบอกเรื่องราวให้ทราบทั่วกัน ตัวอย่างการใช้: ทางมหาวิทยาลัยจะติดประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการทดสอบในวันพรุ่งนี้
- ที่ประกาศ ป้ายประกาศ
ประโยค
- ชื่อเต็มของกองทัพสามารถประกอบด้วยตัวอักษรพิมพ์เล็กและใหญ่ของอักษรอังกฤษ อักษรไซริลิค และอักษรประจำชาติอื่นๆ ช่องว่าง ตัวเลข ยัติภังค์ หรือสัญประกาศ