สิทธารถะ คือ
"สิทธารถะ" อังกฤษ"สิทธารถะ" จีน
- สิ คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ,
- สิทธ สิดทะ-, สิด น. ผู้สำเร็จ, ฤษีผู้สำเร็จ, เช่นที่พูดว่า นักสิทธ์. ( ป. , ส. ).
- สิทธา ( กลอน ) น. ฤษี.
- สิทธารถ สิดทาด น. ผู้ที่สำเร็จความมุ่งหมายแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. ( ส. สิทฺธารฺถ).
- ธาร ๑ ทาน น. การทรงไว้, การรับไว้, การหนุน, มักใช้เป็นบทหลังสมาส เช่น จุฑาธาร. ( ป. , ส. ). ๒ ทาน น. น้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อน้ำ. (
- รถ รด, ระถะ- น. ยานที่มีล้อสำหรับเคลื่อนไป เช่น รถม้า รถยนต์ รถไฟ; ( กฎ ) ยานพาหนะทุกชนิดที่ใช้ในการขนส่งทางบกซึ่งเดินด้วยกำลังเครื่องยนต์
- ถะ pic045.jpg ( ถะ ) น. พระเจดีย์แบบจีน. ( จ. ).
- สิทธัตถะ น. ผู้ที่สำเร็จความมุ่งหมายแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. (ป. สิทฺธตฺถ).
- สิทธาจารย์ น. อาจารย์ผู้สำเร็จ, ฤษี.
- สัทธา น. ความเชื่อ, ความเลื่อมใส. (ป.; ส. ศฺรทฺธา).
- ตีรถะ ตีระ- (แบบ) ติตถ์, ดิตถ์, ท่าน้ำ. (ส.; ป. ติตฺถ).
- ธาตุบริสุทธิ์ ธาตุแท้
- สัทธาธิกะ น. ผู้ยิ่งด้วยศรัทธา. (ป.).
- สิทธานต์ น. ลัทธิหรือความเห็นที่ตกลงกันแล้ว; หลัก. (ส.).
- สัทธาจริต ว. มีความเชื่อเป็นเจ้าเรือน, มีนิสัยเชื่อง่าย, เช่น เขาเป็นคนสัทธาจริตเชื่ออะไรง่าย. (ป.).