เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สุภาพบุรุษชาวฮินดู คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • คำทักทายยกย่อง ของชาวฮินดู
    ชาวอินเดียที่รู้จักภาษาเล็กน้อย
  • สุ     ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้น้ำร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ. ๒ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว
  • สุภ     สุบพะ- น. ความงาม, ความดีงาม, ความเจริญ. ( ป. ; ส. ศุภ).
  • สุภา     น. ตุลาการ.
  • สุภาพ     ว. เรียบร้อย เช่น เขาแต่งกายสุภาพตามกาลเทศะและความนิยม, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม, เช่น เขาพูดด้วยน้ำเสียงสุภาพ ไม่กระโชกโฮกฮาก.
  • สุภาพบุรุษ     น. ชายที่มีกิริยาวาจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ และมีคุณธรรม เช่น เขาช่วยเหลือเธอตามหน้าที่สุภาพบุรุษ.
  • ภา     น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
  • ภาพ     พาบ, พาบพะ- น. ความ, ความมี, ความเป็น, มักใช้ประกอบเป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น มรณภาพ ว่า ความตาย; รูปที่ปรากฏเห็นหรือนึกเห็น เช่น ภาพทิวทัศน์
  • พบ     ก. เห็น (ใช้แก่อาการเห็นซึ่งต่อเนื่องกับกิริยาอื่น เช่น ขุดพบ ค้นพบ ไปพบ หาพบ), ปะ, ประสบ, เจอะ, เจอ, เช่น พบเพื่อน พบอุปสรรค.
  • บุ     ก. ตีให้เข้ารูป เช่น บุขัน, เอาของบาง ๆ หุ้มข้างนอก เช่น บุหนัง บุพลาสติก หรือรองข้างใน เช่น บุหลังคา.
  • บุรุษ     บุหฺรุด, บุหฺรุดสะ- น. ผู้ชาย, เพศชาย, คู่กับ สตรี, ใช้ในลักษณะที่สุภาพ; ( ไว ) คำบอกผู้พูด เรียกว่า บุรุษที่ ๑, คำบอกผู้ที่พูดด้วย เรียกว่า
  • รุ     ก. ระบายสิ่งที่ไม่ต้องการออกไป เช่น บริษัทรุคนงานเก่าออก พี่รุเสื้อผ้าให้น้อง.
  • ชา     ๑ น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Camellia sinensis (L.) Kuntze ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามหุบเขาในเขตร้อน ใบใช้ชงเป็นเครื่องดื่ม, พายัพเรียก
  • ชาว     น. กลุ่มชนที่มีเชื้อชาติเดียวกัน เช่น ชาวไทย ชาวจีน หรืออยู่ในถิ่นฐานเดียวกัน เช่น ชาวเมือง ชาวชนบท หรือมีอาชีพอย่างเดียวกัน เช่น ชาวไร่ ชาวนา
  • ชาวฮินดู     คนฮินดู ภาษาฮินดู ฮินดู แขกฮินดู ผู้นับถือศาสนาฮินดู
  • ฮินดู     น. ชื่อศาสนาหนึ่งที่เกิดในอินเดีย มีวิวัฒนาการมาจากศาสนาพราหมณ์, ผู้นับถือศาสนาฮินดู. ว. ที่เกี่ยวกับศาสนาฮินดู.
  • ดู     ก. ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร, ระวังรักษา เช่น ดูบ้านให้ด้วย ไม่มีคนดูเด็ก, พินิจพิจารณา เช่น ดูให้ดี, ศึกษาเล่าเรียน เช่น ดูหนังสือ,