เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สุว- คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • -วะ-
    คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤตแปลว่า ดี, งาม, ง่าย, สำหรับเติมหน้าคำ เช่น สุวคนธ์. (ป., ส. สุ).
  • สุ     ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้น้ำร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ. ๒ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว
  • สุว     -วะ- คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤตแปลว่า ดี, งาม, ง่าย, สำหรับเติมหน้าคำ เช่น สุวคนธ์. ( ป. , ส. สุ).
  • วัส    วัดสะ- น. ฝน, ฤดูฝน; ปี. (ป.; ส. วรฺษ).
  • วัส-    วัดสะ- น. ฝน, ฤดูฝน; ปี. (ป.; ส. วรฺษ).
  • ส.ว.    สมาชิกวุฒิสภา
  • สิว    สิวะ- น. ความดี, สิริมงคล; พระศิวะ, พระอิศวร. (ป.; ส. ศิว). ๑ น. ตุ่มเม็ดเล็ก ๆ ที่มีหนองเป็นไตสีขาว ๆ อยู่ข้างใน มักขึ้นตามหน้า.
  • สิว-    ๒ สิวะ- น. ความดี, สิริมงคล; พระศิวะ, พระอิศวร. (ป.; ส. ศิว).
  • สิ่ว    น. ชื่อเครื่องมือของช่างไม้ช่างทองเป็นต้น มีทั้งชนิดมีคมและไม่มีคม สำหรับใช้ตอก เจาะ สลัก เซาะ ดุน แร เป็นต้น.
  • วัตถุวิสัย    ว. ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ โดยไม่เกี่ยวกับความคิดหรือความรู้สึก; เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่าการสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า. (อ. obje
  • ชุดซิวีส    ซิวีส
  • ซิวีส    ชุดซิวีส
  • ทีวีสี    โทรทัศน์สี
  • มี่สั้ว    น. เส้นหมี่ขนาดเล็ก ๆ ทำด้วยแป้งสาลี ตากแห้งเก็บไว้ได้นาน. (จ.).
  • รู้สึกตัว    1) v. รู้ว่าตนได้ทำผิดไป ชื่อพ้อง: สำนึกตัว, รู้สำนึก ตัวอย่างการใช้: เขาจะรู้สึกตัวก็ต่อเมื่อมีหลักฐานมามัดตัวเขา 2) v. ชื่อพ้อง: มีสติ ตัวอย่างการใช้: เมื่อเด็กเพลินจะแส
  • รู้สึกลัว    ซึ่งทำให้น่ากลัว