เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

หนามพืช คือ

การออกเสียง:
"หนามพืช" อังกฤษ"หนามพืช" จีน
ความหมายมือถือ
  • ส่วนปลายแหลม
    ช่อใบที่มีปลายแหลม
    หนวดรวงข้าว
    หนาม
  • หน     น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
  • หนา     ๑ น. ส่วนสูงมากจากผิวพื้น. ว. มีส่วนสูงมากจากผิวพื้น; แน่นทึบ, มาก, ตรงข้ามกับ บาง. ๒
  • หนาม     ๑ น. ส่วนแหลม ๆ ที่งอกออกจากต้นหรือกิ่งของไม้บางชนิดเป็นต้น เช่น หนามงิ้ว หนามพุทรา. ๒ น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวในสกุล Murex วงศ์ Muricidae
  • นา     ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
  • นาม     นามมะ- น. ชื่อ, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระนาม; คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ สำหรับเรียกคน สัตว์ และสิ่งของต่าง ๆ; สิ่งที่ไม่ใช่รูป คือ จิตใจ, คู่กับ รูป. ( ป.
  • พืช     น. เมล็ดพันธุ์ไม้, สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป, พืชพันธุ์ ก็ใช้. ( ป. พีช; ส. วีช); พรรณไม้ที่งอกอยู่ตามที่ต่าง ๆ, พืชพรรณ ก็ใช้.
  • หนามพรม    น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Carissa cochinchinensis Pierre ในวงศ์ Apocynaceae ต้นมีหนามแข็ง, พรม ก็เรียก.
  • หนามพุงดอ    ดู พุงดอ.
  • ความหนาแน่นพืช    ประชากรพืช
  • หนามของพืช    หนาม หนามรูปขอ
  • ชลามพุช    น. สัตว์ที่เกิดในครรภ์. (ป.; ส. ชรายุช).
  • บทามพุช    บะทามะพุด (แบบ) น. บัวบาท, เท้า, เช่น ทูลพระบทามพุช. (ยวนพ่าย). (ป. ปท + อมฺพุช).
  • ศิรามพุช    น. หัว. (เทียบ ส. ศิร = หัว + อมฺพุช = บัว, รวมความ = หัวต่างดอกบัว).
  • นัยนามพุ    ไนยะนามพุ น. น้ำตา. (ป. นยน + อมฺพุ).
  • ชื่อหนังสือพิมพ์    บันทึกเหตุการณ์เป็นลำดับเวลา ประวัติศาสตร์