หวาดไหว คือ
"หวาดไหว" การใช้
- ว. หมดสิ้น เช่น งานตั้งมากมายใครจะทำหวาดไหว, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่หวาดไม่ไหว หรือ ไม่หวาดไหว หมายความว่า ไม่รู้จักหมด เช่น กินไม่หวาดไม่ไหว.
- หวา ว. คำประกอบท้ายเพื่อเน้นความ เช่น ไปไหนหวา.
- หวาด ก. สะดุ้งกลัว, กริ่งเกรง, เสียว, หวั่น.
- วา ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. ๒ น.
- วาด ๑ ก. เขียนหรือลากเส้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพ เช่น วาดภาพดอกไม้ วาดภาพทิวทัศน์, เขียนเป็นลายเส้น เช่น วาดภาพลายไทย,
- ไห น. ภาชนะเคลือบดินเผา มีปากเล็ก ก้นเล็ก กลางป่อง สำหรับใส่กระเทียมดองหรือเกลือเป็นต้น.
- ไหว ก. สั่น, สะเทือน, กระดิก, เช่น ใบไม้ไหว. ว. สามารถทำได้ เช่น เดินไหว สู้ไหว กินไหว.
- ไม่หวาดไม่ไหว ว. ไม่รู้จักหมด เช่น กินไม่หวาดไม่ไหว.
- ขาดไหวพริบ โง่ ไร้สติปัญญา
- ไหว้วาน ก. ขอร้องให้ช่วยเหลือ.
- หวั่นหวาด ก. พรั่นกลัว, สะดุ้งกลัว, หวาดหวั่น ก็ว่า.
- หวาดหวั่น ก. พรั่นกลัว, สะดุ้งกลัว, หวั่นหวาด ก็ว่า.
- ไม่หวาดหวั่น กล้า กล้าหาญ ใจถึง
- หวั่นไหว ก. สั่นสะเทือน, โอนเอน, เช่น จิตใจหวั่นไหวไปตามอารมณ์, ครั่นคร้าม เช่น ไม่หวั่นไหวต่อภยันตรายใด ๆ. ว. อาการที่สั่นสะเทือนมาก (ใช้แก่เสียง) เช่น เสียงดังสนั่นหวั่นไหว.
- ไหว้ ก. ทำความเคารพโดยยกมือขึ้นประนม, ถ้าเป็นผู้น้อยไหว้ผู้ใหญ่หรือผู้ทรงศีลต้องก้มศีรษะลงแต่พองาม.
- ความหวั่นไหว การสั่นสะเทือน ความกลัว ความครั่นคร้าม การโอนเอน ความไม่มั่นคง
ประโยค
- ด้วยฝีเท้ามุ่งมาดไม่หวาดไหว