หัวคว่ำ คือ
"หัวคว่ำ" การใช้
- น. ชื่อฝีชนิดหนึ่งที่มีหัวอยู่ข้างใน.
- หัว ๑ น. ส่วนบนสุดของร่างกายของคนหรือสัตว์; ส่วนของพืชพันธุ์บางอย่างตอนที่อยู่ใต้ดิน เช่น หัวหอม หัวผักกาด, ส่วนที่อยู่ใต้ดินของพืชบางชนิด
- คว่ำ คฺว่ำ ก. พลิกเอาด้านบนลงล่าง เช่น รถคว่ำ เรือคว่ำ; กิริยาที่เอาด้านหน้าลง เช่น นอนคว่ำ, กิริยาที่เอาด้านบนลงล่าง เช่น คว่ำชาม, ตรงข้ามกับ หงาย;
- หัวค่ำ น. เวลาแรกมืด, เวลายังไม่ดึก.
- แต่หัวค่ำ แต่เช้า
- รูนิ้วค้ำ รูค้ำ
- ห้ำ (ปาก) ก. เข้าทำร้ายกัน; ตัดให้สั้นอย่างไม่เป็นระเบียบ; เข้าตะครุบขบกัด (ใช้แก่สัตว์).
- หัวคันนา น. ดินที่พูนขึ้นเป็นคันตามท้องนาสำหรับขังน้ำไว้, คันนา หรือ ลูกคัน ก็เรียก.
- หัวคั่น ข้อความคั่น
- หัวคิด น. การใช้สมองคิด, สติปัญญา.
- หัวคุ้ง น. ส่วนเริ่มต้นของโค้งแม่น้ำ.
- หัวค่ํา ค่ํา
- แต่หัวค่ํา ก่อนเวลาที่กําหนดไว้
- ไร้หัวคิด โง่ บัดซบ ไร้สมอง
- จับลิงหัวค่ำ น. การเล่นเรื่องเบ็ดเตล็ดก่อนจะเล่นเรื่องที่แสดงจริงเพื่อเรียกคนดู เช่นในการเล่นหนังตะลุง หนังใหญ่ หรือโขน.
- ควิวควัง -คฺวัง, -คฺวั่ง, -คฺว่าง, -คฺว้าง ก. หมุนคว้างจนใจหวิว ๆ, อาการที่จิตใจรู้สึกหวาดหวิว; ใช้โดยปริยายว่า เวิ้งว้าง, กว้างใหญ่, น่ากลัว, เช่น สาครควิวคว่าง, โบราณเขียนเป็น ควิวคว่งง ก็มี เช่น สมุทรพิศา
ประโยค
- แวะทักทาย แมงกะพรุนหัวคว่ำ อควาเรียม ภูเก็ต !
- ฉันเลยไถลกลับหลัง แล้วหัวคว่ำลงบนน้ำแข็ง