เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อนารยธรรม คือ

สัทอักษรสากล: [a nā ra ya tham]  การออกเสียง:
"อนารยธรรม" อังกฤษ"อนารยธรรม" จีน
ความหมายมือถือ
  • น. ความต่ำช้า, ความป่าเถื่อน.
  • อน     อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
  • อนารย     อะนาระยะ ว. ไม่ใช่อารยะ, ป่าเถื่อน. ( ส. ).
  • นา     ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
  • ยธ     กระทรวงยุติธรรม
  • ธร     ทอน น. การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. ( ป. ; ส. ธฺฤ).
  • ธรรม     ๑ ทำ, ทำมะ- น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คำสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า;
  • รม     ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
  • อารยธรรม    น. ความสงบสุขของสังคมที่ตั้งอยู่บนรากฐานแห่งศีลธรรมและกฎหมาย; ความเจริญเนื่องด้วยองค์การของสังคม เช่น การเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรม, ความเจริญด้วยขนบธรรมเนียมอันดี.
  • ซึ่งไร้อารยธรรม    ซึ่งป่าเถื่อน
  • มีอารยธรรม    เกี่ยวกับคดีแพ่ง เกี่ยวกับพลเรือน อย่างพลเมืองที่ดี ไม่เกี่ยวกับศาสนา
  • ไม่มีอารยธรรม    รุนแรง ดุร้าย หยาบคาย เถื่อน โหดร้าย หยาบไม่สุภาพ ไม่มีมารยาทที่ดี ไม่มีใจกรุณา ป่าเถื่อน ไม่มีวัฒนธรรม ไม่เจริญ
  • ไร้อารยธรรม    ป่าเถื่อน
  • จริยธรรม    น. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม.
  • การไร้มนุษยธรรม    ความป่าเถื่อน ความโหดร้าย
  • สาราณียธรรม    น. ธรรมอันเป็นไปเพื่อความระลึกถึงกันและกัน. (ป. สาราณีย + ส. ธรฺม).