เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อนิจกรรม คือ

สัทอักษรสากล: [a nit ja kam]  การออกเสียง:
"อนิจกรรม" การใช้"อนิจกรรม" อังกฤษ"อนิจกรรม" จีน
ความหมายมือถือ
  • น. ความตาย, ใช้กับผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม.
  • อน     อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
  • อนิจ     อะนิด, อะนิดจะ- ว. ไม่ยั่งยืน, ไม่เที่ยง, ชั่วคราว, ไม่แน่นอน. ( ป. อนิจฺจ; ส. อนิตฺย).
  • นิ     ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
  • นิจ     ๑ นิด, นิดจะ- ว. เสมอไป, สม่ำเสมอ, มักใช้ว่า เป็นนิจ. ( ป. นิจฺจ; ส. นิตฺย). ๒ ว. ต่ำ (คู่กับ อุจ ว่า สูง) ใช้แก่ดาวนพเคราะห์ เช่นว่า
  • จก     ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กรร     ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
  • กรรม     ๑ กำ, กำมะ- น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒)
  • รม     ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
  • ถึงอนิจกรรม    ตาย ถึงแก่อนิจกรรม สิ้นชีวิต
  • ถึงแก่อนิจกรรม    ก. ตาย (ใช้แก่พระยาพานทองหรือเทียบเท่า).
  • กิจกรรม    น. การที่ผู้เรียนปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อการเรียนรู้; กิจการ.
  • กรรมวาจก    กำมะ- (ไว) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมวาจกต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ บางทีก
  • กิจกรรม vt.    การเล่นสนุกสนาน
  • กิจกรรมอั้งยี่    การขู่เข็ญเงิน การฉ้อโกง กิจกรรมต้มคน กิจกรรมที่ผิดกฎหมาย
ประโยค
  • แจ้งประธานคณะกรรมการบริษัทถึงแก่อนิจกรรม
  • ถึงแก่อนิจกรรมแล้ว