เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อนุประโยค คือ

สัทอักษรสากล: [a nu pra yōk]  การออกเสียง:
"อนุประโยค" การใช้"อนุประโยค" อังกฤษ"อนุประโยค" จีน
ความหมายมือถือ
  • น. ประโยคเล็กที่ทำหน้าที่แต่งมุขยประโยคให้ได้ความดีขึ้น แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ นามานุประโยค คุณานุประโยค และวิเศษณานุประโยค.
  • อน     อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
  • อนุ     คำประกอบหน้าศัพท์บาลีหรือสันสกฤตมีความหมายว่า น้อย เช่น อนุทิศ = ทิศน้อย, ภายหลัง, รุ่นหลัง, เช่น อนุชน = ชนรุ่นหลัง, ตาม เช่น อนุวัต = เป็นไปตาม,
  • นุ     ๑ ( กลอน ) ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง. ( ตะเลงพ่าย ); อเนกนุประการ. ( พงศ. เลขา ); โดยนุกรม. ( ม. คำหลวง วนปเวสน์). ๒ (
  • ปร     ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
  • ประ     ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
  • ประโยค     ปฺระโหฺยก ( ไว ) น. คำพูดหรือข้อความที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่ง ๆ เช่น ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำถาม; ชั้นแห่งความรู้ภาษาบาลี เช่น
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • โย     ๑ ( ปาก ) ก. พูดแขวะ, พูดชวนวิวาท. ๒ ( โบ ) ว. เรียกทุเรียนที่มีเม็ดห่าง ๆ ว่า ทุเรียนโย. ( ปรัดเล ).
  • โยค     โยคะ- น. การประกอบ, การใช้, การร่วม; กิเลส; ความเพียร; วิธีบำเพ็ญสมาธิตามลัทธิของอาจารย์ปตัญชลี; ( โหร ) การที่ดาวนพเคราะห์ตั้งแต่ ๒
  • ประโยคสอนใจ    คติธรรม คําสอน เรื่องสอนใจ
  • ลําดับคําในประโยค อนุประโยค หรือวลี    การเรียงลําดับของคําในประโยค อนุประโยค หรือวลี
  • ประโยคคู่    บทละครสองบรรทัด
  • ประโยคย่อย    อนุประโยค
  • ผูกประโยค    ผูกเรื่อง สร้างประโยค
  • วิประโยค    วิบปะโยก, วิปฺระโยก น. ความพลัดพราก, ความกระจัดกระจาย, ความจากกัน. ว. เศร้าโศก เช่น วันวิปโยค แม่น้ำวิปโยค. (ป. วิปฺปโยค; ส. วิปฺรโยค).
ประโยค
  • เรื่อง " ไม่มีอนุประโยค " เป็นจุดจบของทั้งหมด
  • ผมไม่สนหรอก เรื่อง " ไม่มีอนุประโยค "
  • ตามกฎหมายเรียกว่า " ไม่มีอนุประโยค " .
  • ฉันไม่สนใจเรื่อง " ไม่มีอนุประโยค " .
  • อนุประโยคลงไป ในนามของนาย