อภูตะ คือ
อะพูตะ
ว. ไม่มี, ไม่เกิดขึ้น, ไม่ปรากฏ. (ป., ส.).
- ภู ๑ น. ดิน, แผ่นดิน, โลก. ( ป. , ส. ). ๒ น. เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม, เขา.
- ภูต พูด, พูตะ- น. ผี, มักใช้เข้าคู่กันเป็น ภูตผี. ว. ซึ่งเกิดแล้ว, ซึ่งเป็นแล้ว. ( ป. , ส. ).
- ตะ ก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
- อภิ คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีความหมายว่า ยิ่ง, วิเศษ, เหนือ, เช่น อภิรมย์ = ยินดียิ่ง, อภิญญาณ = ความรู้วิเศษ, อภิมนุษย์ = มนุษย์ที่เหนือมนุษย์ทั้งหลาย. (ป.).
- (อภัย) มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗
- อภว อะภะวะ- น. ความไม่มี, ความเสื่อม, ความเสียหาย. (ป., ส.).
- อภว- อะภะวะ- น. ความไม่มี, ความเสื่อม, ความเสียหาย. (ป., ส.).
- อภัพ อะพับ, อะพับพะ- ว. ไม่สมควร, เป็นไปไม่ได้. (ป. อภพฺพ; ส. อภวฺย).
- อภัพ- อะพับ, อะพับพะ- ว. ไม่สมควร, เป็นไปไม่ได้. (ป. อภพฺพ; ส. อภวฺย).
- อภัย อะไพ, อะไพยะ- น. ความไม่มีภัย, ความไม่ต้องกลัว. (ป., ส.), นิยมใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น ขออภัย หมายความว่า ขอให้ยกโทษให้ ขออย่าได้ถือโทษ, ให้อภัย หมายความว่า ยกโทษให้. ก. ยกโทษ เช่น ฉันอภัยให้เธอ.
- อภัย- อะไพ, อะไพยะ- น. ความไม่มีภัย, ความไม่ต้องกลัว. (ป., ส.), นิยมใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น ขออภัย หมายความว่า ขอให้ยกโทษให้ ขออย่าได้ถือโทษ, ให้อภัย หมายความว่า ยกโทษให้. ก. ยกโทษ เช่น ฉันอภัยให้เธอ.
- อภิชน อะพิชน, อะพิชะนะ- น. ชนผู้สืบมาจากตระกูลสูง. (ป., ส.).
- อภิชน- อะพิชน, อะพิชะนะ- น. ชนผู้สืบมาจากตระกูลสูง. (ป., ส.).
- อภิณห อะพินหะ- ว. เสมอ, ทุกวัน. (ป.).
- อภิณห- อะพินหะ- ว. เสมอ, ทุกวัน. (ป.).