อัตหิต คือ
-หิตะ-
น. ประโยชน์ตน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ประโยชน์ เป็น อัตหิตประโยชน์ ว่า ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน. (ป. อตฺตหิต).
- อัต อัดตะ- น. ตน, ตัวเอง. ( ป. อตฺต; ส. อาตฺมนฺ).
- หิต หิด, หิตะ- น. ความเกื้อกูล, ประโยชน์. ( ป. , ส. ).
- อัตหิต- -หิตะ- น. ประโยชน์ตน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ประโยชน์ เป็น อัตหิตประโยชน์ ว่า ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน. (ป. อตฺตหิต).
- สิ่งที่ใหญ่โตหรือมีอํานาจมาก สิ่งที่มีความสําคัญมาก
- ตีอีตื้อ ก. นิ่งเฉย, ดื้อด้าน.
- (อุตุ) เป็นคำที่ใช้ในอุตุนิยมวิทยา
- ต.อ. ตะวันออก ทิศตะวันออก
- ตื้อ ว. ทึบ เช่น มืดตื้อ สมองตื้อ; แน่นอึดอัด เช่น อิ่มตื้อ ท้องตื้อ; เรียกดอกไม้ไฟชนิดหนึ่งว่า อ้ายตื้อ หรือ อีตื้อ; เรียกข้าวเหนียวน้ำกะทิในพิธีเลี้ยงว่า อ้ายตื้อ.
- ตื๊อ (ปาก) ก. รบเร้าจะเอาให้ได้, เซ้าซี้รบกวนร่ำไป.
- ตื๋อ ว. เร็วมาก (ใช้แก่กริยาวิ่ง).
- ต่อ ๑ น. ชื่อแมลงขนาดกลางถึงขนาดใหญ่หลายวงศ์ มีปีก ๒ คู่ ลักษณะเป็นแผ่นบางใส ปีกคู่หลังเล็กกว่าปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน เอวคอดกิ่ว ตัวเมียมีเหล็กในสำหรับต่อยปล่อยน้ำพิษทำให้เจ็บปวดได้ บางชนิดอยู่อย่
- ต้อ ๑ น. โรคอย่างหนึ่งเกิดที่ลูกตา ทำให้ตาพิการมองอะไรไม่เห็นชัดเจน หรืออาจทำให้ตาบอดได้ มีหลายชนิด. ๒ ว. อ้วนสั้น, อ้วนเตี้ย, เช่น ขวดต้อ พลูต้อ.
- อัต- อัดตะ- น. ตน, ตัวเอง. (ป. อตฺต; ส. อาตฺมนฺ).
- อุตุ ๑ น. ฤดู. (ป.; ส. ฤตุ). ๒ (ปาก) ว. สบาย (ใช้แก่กริยานอน) เช่น นอนหลับอุตุ.
- เขตหัวเมืองที่ส่งเสบียงให้แก่เรือ ผืนแผ่นดินหลังฝั่งทะเล เขตป่าที่อยู่ไกล ไร้ชื่อเสียง