เกจิอาจารย์ คือ
สัทอักษรสากล: [kē ji ā jān] การออกเสียง:
"เกจิอาจารย์" การใช้"เกจิอาจารย์" อังกฤษ"เกจิอาจารย์" จีน
ความหมายมือถือ
- น. “อาจารย์บางพวก”, อาจารย์ที่เชื่อกันว่ามีความรู้ความสามารถในด้านคาถาอาคมและการปลุกเสกเครื่องรางของขลัง. (ป.).
- เก ว. ไม่ตรงตามแนว, ไม่เป็นระเบียบ, (ใช้แก่ของที่เป็นซี่เป็นลำ) เช่น ฟันเก ขาเก; ไม่ยอมปฏิบัติตามระเบียบ; เกะกะ, เกเร; ( ปาก )
- เกจ n. เครื่องวัด , ชื่อพ้อง: มาตร ตัวอย่างการใช้: การบ่งชี้ความเป็นไปของรถสามารถตรวจสอบได้จากเกจ์วัดต่างๆ clf.: อัน
- จิ ( แบบ ) ก. จะ เช่น จิปากทั้งลิ้นล้า เพื่อเจ้าเจียรจันทร์. ( ทวาทศมาส ).
- อา ๑ น. น้องของพ่อ, ( โบ ) เขียนเป็น อาว์ ก็มี. (อีสาน อา ว่า น้องสาวของพ่อ, อาว ว่า น้องชายของพ่อ). ๒ ( กลอน ) ว.
- อาจ ว. กล้า ในคำว่า อาจหาญ; สามารถ เช่น เรื่องยาก ๆ อย่างนี้เขาทำได้ ผมไม่อาจทำได้อย่างเขา; เป็นคำช่วยกริยาบอกความคาดคะเน เช่น
- อาจาร -จาน, -จาระ- น. ความประพฤติ, ความประพฤติดี; จรรยา, มรรยาท; ธรรมเนียม, แบบแผน, หลัก. ( ป. , ส. ).
- อาจารย์ น. ผู้สั่งสอนวิชาความรู้; คำที่ใช้เรียกนำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้ในทางใดทางหนึ่ง. ( ส. ; ป. อาจริย).
- จา ( ถิ่น-พายัพ, อีสาน ) ก. พูด, กล่าว.
- จาร ๑ จาน ก. ใช้เหล็กแหลมเขียนลงบนใบลานหรือศิลาเป็นต้นให้เป็นตัวหนังสือ เช่น จึงจารจารึกอันนี้ไว้อีกโสด. (ศิลาจารึกเขาสุมนกูฏ).
- อาจารย์หญิง ครูหญิง แม่พิมพ์
- อาจารย์ใหญ่ ครูใหญ่ ผู้อำนวยการโรงเรียน อจญ.
- คณะครูอาจารย์ คณะครู คณาจารย์ คณะผู้สอน
- คณะอาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ ครูสอนหนังสือ คณะครู คณาจารย์
- ครูบาอาจารย์ n. ผู้สั่งสอนศิษย์, ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ , ชื่อพ้อง: ครู, อาจารย์, คุณครู คำตรงข้าม: นักเรียน ตัวอย่างการใช้: เขาเป็นอีกคนหนึ่งที่ซึมซับเอาคำสอนของครูบาอาจารย์ในโรงเรียนด้วยความ
- ตำแหน่งอาจารย์ ตำแหน่งครู