เขตสังฆกรรม คือ
"เขตสังฆกรรม" อังกฤษ
- เข ๑ ว. เหล่น้อย (ใช้แก่ตา). ๒ ดู แกแล .
- เขต เขด น. แดนที่กำหนดขีดคั่นไว้ เช่น เขตป่า เขตบ้าน, เวลาที่กำหนดขีดคั่นไว้ เช่น หมดเขตวันที่ ๑๕. ( ป. เขตฺต). (โบราณเขียนว่า เขตร).
- สัง ( ถิ่น-อีสาน ) น. ต้นมะสัง. ( ดู มะสัง ).
- สังฆ สังคะ- น. สงฆ์, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
- สังฆกรรม สังคะกำ น. กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรวมกันทำภายในสีมา เช่น การทำอุโบสถ การสวดพระปาติโมกข์. ( ส. สํฆ + กรฺมนฺ; ป. สงฺฆกมฺม).
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรม ๑ กำ, กำมะ- น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒)
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- ร่วมสังฆกรรม ก. อาการที่พระสงฆ์ทำสังฆกรรมร่วมกัน, (ปาก) ทำงานร่วมกัน เช่น ฉันเข้าร่วมสังฆกรรมกับเขา.
- เขตอุตสาหกรรม n. พืนที่ที่มีกิจกรรมซึ่งใช้ทุนและแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของหรือจัดให้มีบริการ ตัวอย่างการใช้: ในแถบมีนบุรี-ลาดกระบังจัดเป็นเขตอุสาหกรรมที่สำคัญของทางตะวันออก clf.: เขต
- โมฆกรรม (กฎ) น. นิติกรรมที่เสียเปล่า ไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมาย ไม่อาจให้สัตยาบันแก่กันได้ และผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใด จะยกความเสียเปล่าขึ้นกล่าวอ้างก็ได้, กฎหมายเขียนเป็น โมฆะกรรม.
- การเขตกรรม การเขตกรรมพืช การเพาะปลูกพืช
- สังฆการี น. เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับสงฆ์ในงานหลวง.
- การเขตกรรมพืช การเขตกรรม การเพาะปลูกพืช