เงินรางวัลสลากกินแบ่ง คือ
"เงินรางวัลสลากกินแบ่ง" อังกฤษ
- เงิน น. ธาตุลำดับที่ ๔๗ สัญลักษณ์ Ag เป็นโลหะสีขาว เนื้อค่อนข้างอ่อน หลอมละลายที่ ๙๖๐.๘ °ซ. ( อ. silver); วัตถุที่ใช้วัดราคาในการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน,
- เงินรางวัล รางวัล สินน้ำใจ ค่าตอบแทน เงินบำเหน็จ เบี้ยบําเหน็จ
- นร นอระ- น. คน, ชาย, เพศหญิงใช้ว่า นรี หรือ นารี, นิยมใช้เป็นคำหน้าสมาส เช่น นรเทพ นรสิงห์. ( ป. , ส. ).
- นรา ( กลอน ) น. คน.
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราง ๑ น. ร่องที่ขุดเป็นทางสำหรับให้น้ำไหล; สิ่งสำหรับรองน้ำฝนที่ชายคาเป็นต้น มักทำด้วยสังกะสียาวเป็นแนวไปตามชายคา; ไม้ที่ขุดหรือต่อให้เป็นร่องยาว ๆ
- รางวัล น. สิ่งของหรือเงินที่ได้มาเพราะความดีความชอบหรือความสามารถ เช่น รางวัลผู้มีมารยาทงาม รางวัลสังข์เงิน รางวัลตุ๊กตาทอง หรือเพราะชนะในการแข่งขัน เช่น
- สลา สะหฺลา น. หมาก. ( ข. ).
- สลาก ๑ สะหฺลาก น. สิ่งเช่นติ้ว ตั๋ว หรือแผ่นกระดาษเล็ก ๆ เป็นต้น ซึ่งทำเป็นเครื่องหมายกำหนดไว้เนื่องในการเสี่ยงโชคเสี่ยงทายเป็นต้น เช่น สลากภัต;
- สลากกินแบ่ง น. สลากที่จัดให้มีขึ้นเพื่อขายให้แก่ผู้เล่นเป็นการเสี่ยงโชค
- ลา ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Equus asinus ในวงศ์ Equidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับม้า รูปร่างคล้ายม้าแต่ตัวเล็กกว่า หูยาว ปลายหางเป็นพู่
- ลาก ก. ทำให้เคลื่อนที่ตามไปโดยวิธีต่าง ๆ เช่น ดึง ฉุด ระไป ถูไป ล่ามไป โยงไป เช่น ลากเกวียน ม้าลากรถ กระโปรงยาวลากดิน; โดยปริยายหมายความว่า
- กก ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก. ๒ น. โคน เช่น กกไม้, ต้น เช่น กกขา, ลำต้น เช่น กกเสา. ๓ น.
- กิน ก. เคี้ยว เช่น กินหมาก, เคี้ยวกลืน เช่น กินข้าว, ดื่ม เช่น กินน้ำ, ทำให้ล่วงลำคอลงไปสู่กระเพาะ; โดยปริยายหมายความว่าเปลือง เช่น กินเงิน กินเวลา,
- กินแบ่ง น. เรียกสลากที่จำหน่ายแก่ผู้ถือเพื่อรับรางวัลในการเสี่ยงโชค โดยผู้จำหน่ายหักส่วนลดเป็นกำไรว่า สลากกินแบ่ง.
- แบ ก. แผ่ให้แบนออก เช่น แบมือ, กางแผ่ออก เช่น แบหนังสือไว้. ว. อาการที่เปิดแผ่หรือวางทิ้งไว้อย่างไม่เอาใจใส่เป็นต้น เช่น นอนแบ เปิดแบไว้ ทิ้งแบไว้.
- แบ่ง ก. แยกสิ่งที่เป็นอันเดียวกันหรือถือว่าเป็นอันเดียวกันออกเป็นส่วน ๆ เช่น แบ่งเงิน แบ่งของ.
- บ่ บอ, บ่อ ว. ไม่, มักใช้ในหนังสือเก่าหรือกวีนิพนธ์ หรือบางท้องถิ่น, ในที่ใช้ บ เมื่อใช้ว่า บ่ ก็มีความเช่นเดียวกัน.
- บ่ง ก. ชี้, ระบุ, อ้างหรือแสดงให้รู้โดยเจาะจง, เช่น การกระทำของเขาบ่งชัดอยู่แล้วว่าเขาเป็นผู้กระทำผิด; ใช้ของแหลม ๆ