เจ๊า คือ
สัทอักษรสากล: [jāo] [jao] การออกเสียง:
"เจ๊า" การใช้"เจ๊า" อังกฤษ"เจ๊า" จีน
ความหมายมือถือ
- ก. เลิกกันไป, ไม่ได้ไม่เสีย. (ภาษาการพนัน).
- เจ น. อาหารที่ไม่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ และผักบางชนิดเช่นกระเทียม กุยช่าย ผักชี, แจ ก็ว่า. ( จ. ว่า แจ).
- เจ๊ พี่สาว นายหญิง หัวหน้าหญิง
- เจ่า ๑ น. อาหารชนิดหนึ่ง ทำด้วยกุ้งหรือปลาประสมด้วยข้าวหมาก เรียกว่า กุ้งเจ่า ปลาเจ่า, ถ้าหลนกับกะทิ เรียกว่า หลนกุ้งเจ่า หลนปลาเจ่า ใช้เป็นเครื่องจิ้ม. ๒ ว. อาการที่เกาะ จับ หรือนั่งอย่างหงอยเหงา เช่น น
- เจ้า ๑ น. ผู้เป็นใหญ่, ผู้เป็นหัวหน้า, เช่น เจ้านคร; เชื้อสายของกษัตริย์นับตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป, บางแห่งหมายถึงพระเจ้าแผ่นดินก็มี เช่น เจ้ากรุงจีน; ผู้เป็นเจ้าของ เช่น เจ้าทรัพย์ เจ้าหนี้; ผู้ชำนาญ
- ข้าเจ้า (ถิ่น-พายัพ) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
- จับเจ่า ว. หงอยเหงา, หงอยก๋อย.
- จุกเจ่า ว. เซา, นั่งเหงา, นั่งคุดคู้อยู่, เจ่าจุก ก็ว่า.
- ตุ๊เจ้า พระ พระสงฆ์ ตุ๊
- ปู่เจ้า น. ผู้เฒ่าที่คนเคารพนับถือ, เจ้าปู่ ก็ว่า; เทพารักษ์ เช่น เขาใส่สมญาเรา ปู่เจ้า. (ลอ).
- พ่อเจ้า ส. คำเรียกพ่อเมืองหรือเจ้าผู้ครองนคร, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
- ยิงเจ๊า ตีเสมอ ยิงตีเสมอ
- สีเจิดจ้า ฉูดฉาด สีสดใส
- สูเจ้า (โบ) ส. ท่าน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
- ออเจ้า (โบ) ส. คำใช้แทนชื่อผู้ที่เราพูดด้วย เช่น ทชีก็ปรับทุกข์ร้อนทางจะอวดมีว่า ออเจ้าเอ๋ยออเจ้าเราค่อยมั่งมีขึ้นถึงเพียงนี้มีเสียกว่าออเจ้า. (ม. คำหลวง ชูชก), เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
- เข้าเจ้า ก. ทำพิธีให้เจ้ามาสิงในกาย, ตัวผู้ทำพิธีให้เจ้ามาสิงนั้น เรียกว่า “คนทรง”, มักใช้เข้าคู่กับคำ เข้าทรง เป็น เข้าเจ้าเข้าทรง.
ประโยค
- ผมอยากบอกว่าให้ผมพบลอร์ก้าสิ เราจะได้เจ๊ากันกับ
- อย่าได้คิดจะเจ๊าะแจ๊ะกับเธออีกเชียว เข้าใจมั๊ย ?
- โอเค พอคุยเจ๊าะแจ๊ะเสร็จ ฉันรู้สึกดีขึ้นเยอะเลย
- เพื่อให้เจ๊ากัน ฉันต้องสายตรงคนเมาหาเขาด้วยมั้ย ?
- นายริพแผ่นให้ฉันในราคาเดิม แล้วถือว่าเจ๊ากันไป
- ฉันจะถือว่าเจ๊ากันไป จะยอมปล่อยพวกแกไปสักครั้ง
- ความผิดจากการพูดเจ๊าะแจ๊ะ ของพวกเจ้าต้องโดนลงโทษ
- แต่ในเมื่อฉันยังไม่ได้กินอะไร ก็เจ๊ากันไปแล้วกัน
- เฮ้ นายพาฉันไปหาเขาหน่อย แล้วฉันจะถือว่าเจ๊ากันไป
- ผมไมไ่ด้ตั้งใจเผลอชนไปนิดเดียวเจ๊าๆไม่ได้หรอ ?