เดียดฉันท์ คือ
สัทอักษรสากล: [dīet chan] การออกเสียง:
"เดียดฉันท์" การใช้"เดียดฉันท์" อังกฤษ"เดียดฉันท์" จีน
ความหมายมือถือ
- ก. ไม่พอใจด้วย, รังเกียจ, ลำเอียง.
- เด ว. มาก ๆ, มักใช้ประกอบกับคำ เหลือ ว่า เหลือเด คือ เหลือมาก ๆ.
- เดียด ก. เกลียด, ริษยา.
- ดี ๑ น. อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สำหรับช่วยย่อยอาหาร, เรียกน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ
- ฉัน ๑ ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. ๒ ก. กิน (ใช้แก่ภิกษุสามเณร). ๓ ว.
- ฉันท์ ๑ ฉันทะ- น. ชื่อคำประพันธ์ประเภทหนึ่งที่วางคำ ครุ ลหุ เป็นแบบต่าง ๆ. ( ป. ). ๒ น. ความพอใจ, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี;
- นท นด ( แบบ ) น. ผู้บันลือ, ผู้ร้อง, ผู้ลั่น; แม่น้ำ, ลำน้ำ, เช่น ชมพูนท (แปลว่า เกิดในแม่น้ำชมพูนที คือ ทองคำบริสุทธิ์). ( ป. , ส. ).
- รังเกียจเดียดฉันท์ ก. ลำเอียงด้วยความรังเกียจ.
- เฉียดฉิว จวนเจียน อย่างหวุดหวิด เฉียด จวนจะ ฉิวเฉียว เกือบ ฉิวเฉียด หวุดหวิด แฉลบ แล่นแฉลบ
- อย่างเฉียดฉิว อย่างหวุดหวิด อย่างจวนเจียน
- อีเดียด คนปัญญาอ่อน คนทึ่ม คนบ้องตื้น
- เดินลุยดิน ลุยน้ํา
- กระเดียด ๑ ก. เอาเข้าข้างสะเอว เช่น กระเดียดกระจาด. (ข. กณฺเฎียต). ๒ ว. ค่อนข้าง, หนักไปทาง, เช่น กระเดียดเปรี้ยว หน้าตากระเดียดไปทางแม่.
- ชระเดียด ชฺระ- (กลอน) ว. รายไป, เรียดไป, โบราณเขียนเป็น ชรดียด ก็มี เช่น ผลักให้ตากตนอยียด ชรดียดด้าวดิ้นดรนอนอยู่แล. (ม. คำหลวง กุมาร).
- คนที่คุยด้วย คู่คุย เพื่อนคุย
- โดยดั้งเดิม อย่างเป็นอันแรก โดยมีมาแต่เดิม โดยแรกเริ่ม