เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

เดียรัจฉาน คือ

สัทอักษรสากล: [dīa rat chān]  การออกเสียง:
"เดียรัจฉาน" การใช้"เดียรัจฉาน" อังกฤษ"เดียรัจฉาน" จีน
ความหมายมือถือ
  • -รัดฉาน
    น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคำด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดรัจฉาน ก็มี. (ป. ติรจฺฉาน ว่า ขวาง, ติรจฺฉานคต ว่า สัตว์มีร่างกายเจริญโดยขวาง).
  • เด     ว. มาก ๆ, มักใช้ประกอบกับคำ เหลือ ว่า เหลือเด คือ เหลือมาก ๆ.
  • เดียร     เดียน, เดียระ ( แบบ ) น. ฝั่ง. ( ป. , ส. ตีร).
  • ดี     ๑ น. อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สำหรับช่วยย่อยอาหาร, เรียกน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ
  • รัจฉา     น. ทางเดิน. ( ป. ; ส. รถฺยา).
  • ฉาน     ๑ น. ข้างหน้า เช่น ธงฉาน; ลาน เช่น ตัดหน้าฉาน. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) ส. ฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. ๓ ก. แตก, กระจาย, ซ่าน, เช่น
  • สัตว์เดียรัจฉาน    สัตว์ สัตว์ป่า เดียรัจฉาน สิ่งมีชีวิต
  • เดรัจฉาน    -รัดฉาน น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคำด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน ก็มี.
  • สัตว์เดรัจฉาน    ดิรัจฉาน ติรัจฉาน เดียรัจฉาน สัตว์ป่า มนุษย์ที่ดุร้ายเยี่ยงสัตว์ป่า คนที่คล้ายสัตว์ คนที่โหดร้ายคล้ายสัตว์ บุคคล สรรพสิ่งที่สร้างขึ้น สัตว์ สิงห์สาราสัตว์ สัตว์ชั้นต่ํา เดรัจฉาน
  • ดิรัจฉาน    -รัดฉาน น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคำด่า), ใช้ว่า เดรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน ก็มี. (ป. ติรจฺฉาน ว่า ขวาง, ติรจฺฉานคต ว่า สัตว์มีร่างกายเจริญโดยขวาง).
  • ติรัจฉาน    -รัด- น. ดิรัจฉาน, สัตว์เดรัจฉาน. (ป. ติรจฺฉานคต ว่า สัตว์มีร่างกายเจริญโดยขวาง).
  • กัจฉา    กัดฉา (แบบ) น. สายรัดท้องช้าง. (ป.; ส. กกฺษา, กกฺษฺยา).
  • ขี้อิจฉา    adj. ที่ไม่อยากให้คนอื่นได้ดี, นิสัยที่เห็นเขาได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ ชื่อพ้อง: ริษยา, อิจฉาตาร้อน ตัวอย่างการใช้: ดาราที่แสดงเป็นคนขี้อิจฉาแสดงได้ถึงบทถึงบาท จนผู้ชมคิดว่าเป็นเรื่องจริง
  • ตัวอิจฉา    n. ตัวละครหรือตัวแสดงที่รับบทบาทเป็นผู้มีนิสัยที่เห็นคนอื่นได้ดีแล้วทนดูอยู่ไม่ได้ ชื่อพ้อง: ตัวร้าย, ตัวริษยา ตัวอย่างการใช้: ละครเรื่องนี้มีตัวอิจฉา 2 ตัว ตบกันตลอดทั้งเรื่อง
  • น่าอิจฉา    น่าริษยา เป็นที่ต้องการ เป็นที่อิจฉา
  • บิตุจฉา    -ตุดฉา (แบบ) น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). (ป. ปิตุจฺฉา).
ประโยค
  • เป็นเดียรัจฉานไม่เชื่อฟังคำสั่งตั้งแต่ตอนนั้น
  • ท่านรู้จักไอ้เดียรัจฉานที่ฆ่านางหรือ ?
  • ถึงแม้ว่าผมจะเลวกว่าสัตว์เดียรัจฉาน
  • ปัญญาเช่นนี้ไม่ได้มาจากเบื้องบน แต่เป็นปัญญาอย่างโลก และเป็นเดียรัจฉานตัณหา และเป็นเช่นปิศาจ
  • เพราะสัตว์เดียรัจฉานทุกชนิด ทั้งนก งู และสัตว์ในทะเลก็เลี้ยงให้เชื่องได้ และมนุษย์ก็ได้เลี้ยงให้เชื่องแล้ว