เดือนสุริยคติ คือ
-สุริยะคะติ
น. การนับเดือนโดยถือเอาดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์.
- เด ว. มาก ๆ, มักใช้ประกอบกับคำ เหลือ ว่า เหลือเด คือ เหลือมาก ๆ.
- เดือน น. ดวงจันทร์; ส่วนของปี โดยปรกติมี ๓๐ วัน.
- ดือ ( กลอน ) น. สะดือ เช่น ขุนช้างฉุดผ้าคว้าจิ้มดือ. ( ขุนช้างขุนแผน ).
- อน อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
- สุ ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้น้ำร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ. ๒ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว
- สุร -ระ- น. เทวดา. ว. ทิพย์. ( ป. , ส. ).
- สุริย -ริยะ- น. พระอาทิตย์, ดวงตะวัน. ( ป. สุริย; ส. สูรฺย); ( โหร ) ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. ( ดู ยาม ).
- สุริยคติ สุริยะคะติ น. วิธีนับวันและเดือนแบบสากล โดยถือกำหนดตำแหน่งดวงอาทิตย์เป็นหลัก เช่น วันที่ ๑ ถึงวันที่ ๓๑ เป็นการนับวันทางสุริยคติ
- ริ ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- คต -คะตะ, -คด ก. ถึงแล้ว, ไปแล้ว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ตถาคต สุคต สวรรคต ทิวงคต. ( ป. ).
- คติ ๑ คะติ น. การไป; ความเป็นไป. ( ป. ). ๒ คะติ น. แบบอย่าง, วิธี, แนวทาง. ( ป. ).
- ติ ก. ชี้ข้อบกพร่อง.
- เดือนทางสุริยคติ สุริยมาส
- ปีสุริยคติ n. วิธีการนับวันและเดือนแบบสากลโดยถือกำหนดตำแหน่งดวงอาทิตย์เป็นหลัก , ตัวอย่างการใช้: รัฐได้เอาปีสุริยคติมาช่วยกำหนดปีจันทรคติของชาวบ้าน
- ตามสุริยคติ เกี่ยวกับดวงอาทิตย์