เทศาภิบาล คือ
"เทศาภิบาล" อังกฤษ
- (เลิก) น. ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการมณฑลในสมัยหนึ่ง ต่อมาเปลี่ยนเรียกว่า สมุหเทศาภิบาล.
- เท ก. ตะแคงหรือเอียงภาชนะเพื่อให้สิ่งที่อยู่ในนั้นไหลลงไปหรือออกไป เช่น เทน้ำ เทขยะ, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนตกลงมามาก ๆ
- เทศ เทด, เทดสะ-, เทสะ ว. ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
- ทศ ๑ ทด, ทดสะ- น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. ว. สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. ๒
- ทศา ทด, ทะสา ( แบบ ) น. ชายผ้า, ชายครุย. ( ส. ).
- บา น. ครู, อาจารย์; ชายหนุ่ม.
- บาล ( แบบ ) ก. เลี้ยง, รักษา, ปกครอง, เช่น บาลเมือง, โดยมากใช้เป็นคำหลังสมาส เช่น โลกบาล รัฐบาล นครบาล โคบาล นิรยบาล. ( ป. , ส. ปาล).
- สมุหเทศาภิบาล น. ผู้สำเร็จราชการมณฑลสมัยโบราณ.
- เทศบาล (กฎ) น. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นแบบหนึ่ง.
- กฎเทศบาล กฎหมายท้องถิ่น กฎหมายประกอบ ข้อปลีกย่อย -s.byelaw
- สันนิบาตเทศบาล น. องค์กรของเทศบาลทั่วประเทศรวมทั้งเทศบาลเมืองพัทยาและกรุงเทพมหานคร ซึ่งรวมตัวกันโดยมีจุดมุ่งหมายช่วยเหลือ สนับสนุน และติดต่อประสานงานเทศบาลทั่วประเทศ โดยไม่มีจุดประสงค์ทางการเมือง เรียกว่า สันนิบาต
- เทศกาลศารท วันศารท ศารท สารท
- สุขาภิบาล สุ- (เลิก) น. ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นมีฐานะต่ำกว่าเทศบาล มีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วยนายอำเภอ ปลัดอำเภอ กำนัน เป็นต้น โดยมีนายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นประธาน มีหน้าที่จัดทำ
- สภาเทศบาล สภา สภาท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น
- เกี่ยวกับเทศบาล เกี่ยวกับการปกครองเมืองด้วยตนเอง เกี่ยวกับการปกครองเมืองด้วยตัวเอง เกี่ยวกับเรื่องภายในรัฐ
- เขตเทศบาล n. พืนที่ในขอบเขตของการบริหารส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นการปกครองแบบพิเศษ ตัวอย่างการใช้: อุบัติเหตุบนทางหลวงนอกเขตเทศบาล มักเป็นอุบัติเหตุที่ร้ายแรง และมีผู้บาดเจ็บล้มตายจำนวนมาก clf.: