เบญจกูล คือ
"เบญจกูล" อังกฤษ
- น. เครื่องยา ๕ อย่าง คือ ขิง ดีปลี ช้าพลู สะค้าน เจตมูลเพลิง. (ส. ปญฺจโกล).
- เบญจ เบนจะ- ว. ห้า, ลำดับที่ ๕ เช่น นาเบญจะ หัวเมืองเบญจะ มาตรา ... เบญจะ. ( ป. ปญฺจ; ส. ปญฺจนฺ), มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
- เบญจก เบนจก น. หมวด ๕. ( ป. ปญฺจก).
- จก ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย
- กู ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด ในปัจจุบันมักถือกันว่าไม่สุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
- ทศเบญจกูล น. เครื่องเผ็ดร้อน ๑๐ อย่างตามตำราแพทย์แผนโบราณ.
- เบญจศีล น. ศีล ๕ คือ ๑. งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ๒. งดเว้นจากการลักทรัพย์ ๓. งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม ๔. งดเว้นจากการพูดเท็จ ๕. งดเว้นจากการเสพสุราเมรัย, คู่กับ เบญจธรรม.
- ธัญเบญจก ทันยะเบนจก น. ธัญชาติทั้ง ๕ ได้แก่ ๑. ศาลิ-ข้าวสาลี ๒. วฺรีหิ-ข้าวเปลือก ๓. ศูก-ลูกเดือย ๔. ศิมฺพี-ถั่ว ๕. กฺษุทฺร-ข้าวกษุทร. (ป. -ปญฺจก).
- เบญจกัลยาณี น. หญิงมีลักษณะงาม ๕ ประการ คือ ๑. ผมงาม ๒. เนื้องาม (คือ เหงือกและริมฝีปากแดงงาม) ๓. ฟันงาม ๔. ผิวงาม ๕. วัยงาม (คือ ดูงามทุกวัย). (ป. ปญฺจกลฺยาณี).
- เบญจกามคุณ น. เครื่องผูกอันบุคคลพึงใคร่ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่ถูกต้องด้วยกาย. (ป. ปญฺจกามคุณ).
- เบญจ- เบนจะ- ว. ห้า, ลำดับที่ ๕ เช่น นาเบญจะ หัวเมืองเบญจะ มาตรา ... เบญจะ. (ป. ปญฺจ; ส. ปญฺจนฺ), มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
- เบญจม เบนจะมะ- ว. ครบ ๕, ที่ ๕. (ป. ปญฺจม).
- เบญจม- เบนจะมะ- ว. ครบ ๕, ที่ ๕. (ป. ปญฺจม).
- เบญจะ เบนจะ- ว. ห้า, ลำดับที่ ๕ เช่น นาเบญจะ หัวเมืองเบญจะ มาตรา ... เบญจะ. (ป. ปญฺจ; ส. ปญฺจนฺ), มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
- เบญจา น. แท่นมีเพดานดาดและระบายผ้าขาว, แท่นซ้อน ๕ ชั้นลดหลั่นกัน มักใช้ประดิษฐานบุษบกหรือพระโกศ. (เพี้ยนมาจาก มัญจา คือ เตียง).
- เบญจขันธ์ น. กอง ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ.