เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

เบญจวรรณห้าสี คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • น. ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง.
  • เบญจ     เบนจะ- ว. ห้า, ลำดับที่ ๕ เช่น นาเบญจะ หัวเมืองเบญจะ มาตรา ... เบญจะ. ( ป. ปญฺจ; ส. ปญฺจนฺ), มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
  • เบญจวรรณ     ว. ๕ สี, ๕ ชนิด. น. นกแก้วขนาดโตมีหลายสี.
  • วร     วะระ-, วอระ- น. พร; ของขวัญ. ว. ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. ( ป. , ส. ).
  • วรรณ     วันนะ- น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ
  • รณ     รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
  • ห้า     น. จำนวนสี่บวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๕ ตกในราวเดือนเมษายน.
  • สี     ๑ น. ชื่อเครื่องสำหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. ก. ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่,
  • เบญจวรรค    น. วรรคทั้ง ๕ ได้แก่ พยัญชนะตั้งแต่ ก ถึง ม คือ กะ วรรค จะ วรรค ฏะ วรรค ตะ วรรค ปะ วรรค, พวก ๕.
  • เบญจพรรณ    ว. ๕ สี, ๕ ชนิด; หลายอย่างคละกัน ไม่เป็นสำรับ ไม่เป็นชุด เช่น ของเบญจพรรณ, เรียกต้นไม้ต่าง ๆ ที่ปลูกไว้ในที่แห่งเดียวกันว่า ไม้เบญจพรรณ, เรียกป่าที่มีไม้หลายพรรณคละกันว่า ป่าเบญจพรรณ.
  • ป่าเบญจพรรณ    น. ป่าที่มีไม้หลายพรรณคละกัน.
  • เบญจธรรม    น. ธรรมะ ๕ ประการ คือ เมตตา ทาน ความสำรวมในกาม สัจจะ สติ, คู่กับ เบญจศีล.
  • เบญจ-    เบนจะ- ว. ห้า, ลำดับที่ ๕ เช่น นาเบญจะ หัวเมืองเบญจะ มาตรา ... เบญจะ. (ป. ปญฺจ; ส. ปญฺจนฺ), มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
  • เบญจก    เบนจก น. หมวด ๕. (ป. ปญฺจก).
  • เบญจม    เบนจะมะ- ว. ครบ ๕, ที่ ๕. (ป. ปญฺจม).
  • เบญจม-    เบนจะมะ- ว. ครบ ๕, ที่ ๕. (ป. ปญฺจม).