เปราะหอม คือ
สัทอักษรสากล: [prǿ høm] การออกเสียง:
"เปราะหอม" อังกฤษ"เปราะหอม" จีน
ความหมายมือถือ
- ดู เปราะ ๑ (๑).
- เปร เปฺร ก. เบนไป, เซไป, เอนไป, หลีกไป.
- เปรา เปฺรา ( ถิ่น-พายัพ ) น. ชื่อปีนักษัตรของไทยเหนือ ตรงกับ ปีฉลู, คำเดียวกับ เป๊า.
- เปราะ ๑ เปฺราะ น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Kaempferia galanga L. ในวงศ์ Zingiberaceae หัวและใบมีกลิ่นหอม ใช้เป็นอาหารและทำยาได้, เปราะหอม
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- หอ น. เรือนหรืออาคารซึ่งใช้เฉพาะกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หอพระ หอนั่ง หอสมุด; เรือนซึ่งปลูกสำหรับให้คู่บ่าวสาวที่แต่งงานกันแล้วอยู่ เรียกว่า
- หอม ๑ น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวหลายชนิดในสกุล Allium วงศ์ Alliaceae กลิ่นฉุน ใช้ปรุงอาหาร เช่น หอมหัวใหญ่ หรือ หอมฝรั่ง ( A. cepa L.), หอมหัว
- อม ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (
- ไม่เปราะ ดัดแปลงได้ ดัดได้ ดึงเป็นเส้นสายได้ ตีออกเป็นแผ่นบางหรือรูปร่างต่าง ๆ ได้ ตีเป็นแผ่นบางได้ น่วมอ่อน หลอมเป็นรูปร่างต่าง ๆ ได้ เปลี่ยนรูปได้ง่าย
- ประเคราะห์ (แบบ) น. ความเพียรที่แก่กล้า; การยกย่อง, การเชิดชู, ตรงข้ามกับ นิเคราะห์ ซึ่งแปลว่า การกำราบ, การลงโทษ, การข่มขี่. ก. ยกย่อง, ประคับประคอง. (ส. ปฺรคฺรห; ป. ปคฺคห).
- โปรตีนสังเคราะห์ โปรตีน
- ทำให้เปราะ ทำให้กรอบ ทำให้หยิก
- ปากเปราะ ก. พูดจาทักทายเก่ง, พูดจาว่าคนง่าย ๆ; เห่าเก่ง (ใช้แก่สุนัข).
- เปราะบาง 1) v. หักง่าย, แตกง่าย ชื่อพ้อง: บอบบาง, เปราะ คำตรงข้าม: แข็งแรง, หนา ตัวอย่างการใช้: แก้วเจียระนัยพวกนี้เปราะบางมาก ถือขึ้นเครื่องบินไปด้วยดีกว่า 2) adj. ที่หักง่าย, ที่แตกง่า
- เปราะแประ -แปฺระ ว. อาการที่ฝนตกมีเม็ดห่าง ๆ แต่เล็กน้อย, เปาะแปะ ก็ว่า.