เป็นหลักเป็นแหล่ง คือ
"เป็นหลักเป็นแหล่ง" การใช้
- ว. อยู่เป็นที่เป็นทางไม่โยกย้ายไปมา เช่น เขามีที่อยู่เป็นหลักเป็นแหล่ง.
- เป็น ๑ ก. คำกริยาสำหรับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำกับคำเพื่อให้เห็นว่าคำหน้าและคำหลังมีภาวะ คือ ความมี ความเป็น เกี่ยวข้องกันอย่างไร เช่น ท่านเป็นเจ้า
- เป็นหลัก 1) v. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว, เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว ตัวอย่างการใช้: ตั้งแต่พ้นโทษออกมา เขาก็ยึดเอาธรรมะเป็นหลักในการดำรงชีวิต 2) adv.
- หลัก ๑ น. เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น, เช่น เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก; เครื่องหมาย เช่น หลักเขต; เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดำรงชีวิต,
- ลัก ก. เอาสิ่งของที่เขาไม่ให้ไปด้วยอาการซ่อนเร้น, ขโมย, เช่น ลักทรัพย์, แอบทำ, ลอบทำ, เช่น ลักกินขนมในห้องเรียน ลักสูบบุหรี่ในห้องน้ำ. ว.
- แห ๑ น. ชื่อเครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นตาข่าย ใช้ทอดแผ่ลงในน้ำแล้วค่อย ๆ ดึงขึ้นมา. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้, อีสาน ) ว. เปรียว, ไม่เชื่อง. ๓ (
- แหล่ ๑ แหฺล่ ว. มาก เช่น เหลือแหล่ หลายแหล่. ๒ แหฺล่ น. ตอนหนึ่งหรือบทหนึ่งในเทศน์มหาชาติซึ่งลงท้ายด้วยคำว่า แล เช่น นั้นแล นั่นแล. ก.
- แหล่ง แหฺล่ง น. ถิ่น, ที่อยู่, บริเวณ, ศูนย์รวม, บ่อเกิด, แห่ง, ที่.
- ล่ง ( กลอน ) ว. โล่ง, ว่าง, เปล่า, ไม่มีเครื่องกำบัง.
- ไม่เป็นหลักแหล่ง หลักลอย ไม่ตัดสินใจแน่นอน ไม่มีผู้คนอยู่อาศัย ไม่อยู่กับ ไม่ได้ชำระสะสาง
- เป็นบ้าเป็นหลัง ว. เอาจริงเอาจังเกินไป เช่น ทำงานเป็นบ้าเป็นหลัง.
- คนไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง คนจรจัด คนอาศัยนอนตามถนน คนไร้ที่อยู่อาศัย คนไร้บ้าน
- ทําให้อยู่เป็นหลักแหล่ง พักแรม
- เป็นหลักเป็นฐาน ว. มีฐานะมั่นคง เช่น เขาตั้งตัวเป็นหลักเป็นฐานแล้ว.
- เป็นหล่ม คล้ายหนองน้ำ พบในหนองน้ำ เต็มไปด้วยหนองน้ำ เต็มไปด้วยโคลน เป็นลุ่ม เป็นโคลน ไม่ใสสะอาด
- สะบั้นหั่นแหลก (ปาก) ว. อย่างที่สุด เช่น โกงสะบั้นหั่นแหลก บู๊สะบั้นหั่นแหลก.
ประโยค
- เขาต้องการคนที่พร้อม และที่อยู่เป็นหลักเป็นแหล่ง
- คุณต้องการจะกระโจนหนี ก่อนจะเป็นหลักเป็นแหล่งเหรอ ?
- เขาคงไปโน่นมานี่ ไม่เป็นหลักเป็นแหล่งไปจนตลอดชีวิต
- คนปกติ ประสบความสำเร็จ เป็นหลักเป็นแหล่ง
- ฉันรู้ว่านายไม่มีงานเป็นหลักเป็นแหล่ง