เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

เสนางคนิกร คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • เส-นาง, -คะนิกอน
    น. ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. (ป.).
  • เส     ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
  • เสน     น. เสนา, กองทหาร, หมู่ทหาร. ( ป. , ส. เสนา). ๑ น. สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb 3 O 4 ลักษณะเป็นผงละเอียด สีแดงเข้ม
  • เสนา     ๑ เส-นา น. ไพร่พล. ( ป. , ส. ). ๒ เส-นา น. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า. ( เทียบ ข. แสฺร = นา).
  • สน     ๑ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น สนสองใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกหนา ( Pinus merkusii Jungh. de Vriese), สนสามใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกบาง (
  • นา     ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
  • นาง     ๑ น. คำประกอบหน้าคำเพื่อแสดงว่าเป็นเพศหญิง เช่น นางฟ้า นางบำเรอ นางละคร นางพระกำนัล; คำแทนชื่อหญิง เช่น นางก็ร้อยพวงมาลัย; ( กฎ )
  • คน     ๑ น. มนุษย์. ๒ ก. กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทำสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ
  • นิ     ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
  • นิกร     -กอน น. หมู่, พวก. ( ป. ).
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • เสนางค์    เส-นาง, -คะนิกอน น. ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. (ป.).
  • จตุรงคินีเสนา    จะตุรง- น. กองทัพมีกำลัง ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่าราบ, จตุรงคเสนา ก็ว่า. (ป., ส. จตุรงฺคินี + เสนา).
  • จตุรงคเสนา    จะตุรงคะ- น. กองทัพมีกำลัง ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่าราบ, จตุรงคินีเสนา ก็ว่า. (ป., ส. จตุรงฺค + เสนา).
  • คคนางค์    คะคะนาง น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + องฺค).
  • คัคนางค์    คักคะนาง (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + องฺค = ส่วนแห่งฟ้า).