เสียงอุทาน คือ
"เสียงอุทาน" การใช้"เสียงอุทาน" อังกฤษ
- n.
เสียงหรือคำที่เปล่งออกมาเวลาตกใจ ดีใจ หรือเสียใจ
ตัวอย่างการใช้: นักดำน้ำหนุ่มใหญ่ถึงกับลืมตัวหลุดเสียงอุทานออกมาเป็นภาษาชาวเกาะด้วยความตื่นตระหนก
clf.: เสียง
- เส ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
- เสีย ๑ ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น
- เสียง น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด; ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี
- สี ๑ น. ชื่อเครื่องสำหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. ก. ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่,
- ยง ๑ ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. ๒ ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. ๓ ว. กล้าหาญ
- งอ ว. ลักษณะที่มีส่วนปลายหักโค้งเข้าหาตัวมันเองเช่นรูปอย่างขอ; เรียกหน้าซึ่งมีสีหน้าแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจ หรือไม่ได้อย่างใจเป็นต้นว่า หน้างอ. ก.
- อุ น. น้ำเมาชนิดหนึ่ง ใช้ปลายข้าวและแกลบประสมกับแป้งเชื้อแล้วหมักไว้.
- อุท อุทะ- น. น้ำ. ( ป. , ส. ).
- อุทาน ๑ น. เสียงหรือคำที่เปล่งออกมาเวลาตกใจ ดีใจ หรือเสียใจ เป็นต้น; ในไวยากรณ์เรียกคำหรือเสียงที่เปล่งออกมาเช่นนั้นว่า คำอุทาน. ( ป. , ส. ). ๒ น.
- ทา ก. คำรวมหมายถึงกิริยาอาการที่เอาของเปียกหรือของเหลวเป็นต้น ฉาบ ลูบ ไล้ ป้าย หรือบ้าย เช่น ทาสี ทาแป้ง ทาปาก ทายา, ถ้าทาเกลือกหรือเคลือบแต่ผิว ๆ
- ทาน ๑ ทานะ-, ทานนะ- น. การให้, มักใช้ประกอบท้ายคำอื่น เช่น ธรรมทาน วิทยาทาน; สิ่งที่ให้ มักหมายถึงเงินหรือสิ่งของที่คนให้แก่คนยากจน, เป็นธรรมข้อ ๑
- เสียงอ่าน n. เสียงที่ออกจากการอ่านตัวหนังสือ ตัวอย่างการใช้: ขณะนี้มีการถกเถียงกันมากว่า คำไทยบางคำเสียงอ่านที่ถูกต้องเป็นอย่างไร
- เสียงดังอลหม่าน เสียงอึกทึกครึกโครม
- เสียงอู้อี้ เสียงซอ
- เสียงอ่อน น. คำพูดที่เพลาความแข็งลง.
ประโยค
- ผอมลงกว่าสมัยเขาเป็นเด็กอย่างเห็นได้ชัด เนี้ยน-มาเงะเริ่มอวบอ้วนตามวัย “ พุงน่ารักจัง ! ” เป็นเสียงอุทานที่มักได้ยินบ่อยครั้ง