เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

เสียยุบเสียยับ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ก. เสียแล้วเสียอีก (มักใช้แก่เงินทอง) เช่น ไปเที่ยวงานคราวนี้เสียยุบเสียยับ.
  • เส     ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
  • เสีย     ๑ ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น
  • สี     ๑ น. ชื่อเครื่องสำหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. ก. ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่,
  • ยุ     ก. กล่าวชักชวน ส่งเสริม หนุน หรือเป็นใจให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (มักใช้ในทางที่ไม่สมควร) เช่น ยุให้เขาทะเลาะกัน ยุให้โกรธ ยุให้กำเริบ.
  • ยุบ     ก. ทรุด เช่น ดั้งจมูกยุบ, บุบเข้าไป เช่น หัวกะโหลกยุบ หน้าหม้อรถยนต์ยุบ, ลด, ลดลง, เช่น พุงยุบ ฝียุบ,
  • ยับ     ๑ ก. เก็บ. น. เรียกผลหมากสุกที่เก็บไว้กินนาน ๆ โดยทำเป็นหมากหลุมหรือหมากไหว่า หมากยับ. ๒ ก. ย่น, ยู่ยี่, เช่น ผ้ายับ เสื้อยับ กระดาษยับ,
  • เส้นด้ายยุ่ง    สิ่งที่เป็นขั้นตอน สิ่งที่เป็นอนุกรม
  • พูดเสียยืดยาว    พันหลายรอบ เรื่องยาว เล่นตัว
  • ย่อยยับ    ว. ป่นปี้, เช่น เสียการพนันย่อยยับ เสียหายย่อยยับ, ยับย่อย หรือ ยับเยิน ก็ว่า. ก. ถูกทำลาย, เสียหาย, เช่น เขาเล่นการพนันจนทรัพย์สมบัติของพ่อแม่ย่อยยับหมด, ยับย่อย หรือ ยับเยิน ก็ว่า.
  • รอยยับ    รอยย่น รอยตีนกา รอยย่นบนใบหน้า ส่วนที่ยับ รอยพับ
  • เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย    (สำ) ก. เสียเพียงเล็กน้อยไม่ยอมเสีย ทำให้ต้องเสียมากกว่าเดิม เช่น ตอนที่เบรกรถยนต์เริ่มไม่ดี ก็ไม่รีบไปซ่อม พอเบรกแตกไปชนต้นไม้เข้า เลยต้องเสียค่าซ่อมมาก เข้าทำนองเสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย.
  • มีรอยยับ    มีรอยย่น
  • พูดหรือบรรยายเสียยืดยาว    ถ่างออก ทำให้กว้างออก
  • ร่ายยาวด้วยเสียงต่ําๆ    พูดพึมพํา พูดเสียงต่ํา
  • วิจารณ์หรือพูดเสียยืดยาว    ความผันแปร adj ดูdescant ท่วงทำนองเพลง