แผ่แง่ คือ
- ก. แสดงท่าทางท่วงทีเป็นชั้นเชิง.
- แผ่ ก. คลี่ขยายกระจายออกไปให้มีลักษณะแบนราบหรือกว้างกว่าเดิมหรืออาการอื่น ๆ ที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น แผ่อาณาเขต แผ่หาง; ให้ เช่น แผ่ส่วนบุญ.
- แง ๑ น. เรียกส่วนของหน้าตรงหว่างคิ้วว่า หน้าแง. ๒ ว. เสียงเด็กร้องไห้.
- แง่ ๑ น. ส่วนที่เป็นเหลี่ยมเป็นสันเป็นมุมหรือส่วนที่ยื่นออกมา เช่น แง่หิน แง่โต๊ะ, โดยปริยายหมายความว่า เหลี่ยม, ชั้นเชิง, เช่น
- ขี้แง 1) v. ร้องไห้ง่ายและร้องไห้บ่อย be/feel weepy, ชื่อพ้อง: ขี้แย ตัวอย่างการใช้: เขายังดูอ่อนแอแบบบาง แต่เขาไม่ขี้แงเหมือนเจ้าว่าหรอก 2) adj. ร้องไห้ง่ายและร้องไห้บ่อย ชื่อพ้อง:
- แง ๆ ว. เสียงเด็กร้องไห้.
- แงะ ก. งัดให้เผยอขึ้น.
- แงๆ งอแง แง
- แง่ง ๑ น. ส่วนที่งอกเป็นแง่ออกมาจากเหง้าขิงข่ากะทือเป็นต้น. ๒ ว. เสียงขู่ของหมาเมื่อจะกัดกันในเวลาแย่งอาหารกันเป็นต้น.
- แง่ดี n. นัยว่าเป็นเรื่องที่ดีงาม looking on the bright/good side ชื่อพ้อง: แง่บวก คำตรงข้าม: แง่ร้าย ตัวอย่างการใช้: แม่ก็ต้องเอาแต่แง่ดีของลูกมาพูดให้คนอื่นฟังอยู่แล้ว
- แง่น ก. แยกเขี้ยวจะกัด (อย่างหมา).
- แง่ลบ เชิงลบ
- แง้ม ก. เปิดแต่น้อย ๆ เช่น แง้มประตู. (โบ) น. ริม, ข้าง, เช่น ปากคลองบางกอกน้อยแง้มขวา.
- งอแง ว. ขี้แย, ขี้อ้อน, (ใช้แก่เด็ก); (ปาก) รวนเร, บิดพลิ้ว; เอาใจยาก.
- งัดแงะ งัด ยกเค้า โจรกรรม ขึ้นบ้าน แงะ
- งับแง ก. แง้ม, ปิดไม่สนิท.