เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

โทณะ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • (แบบ) น. ทะนาน, กะละออม, เครื่องตวงอย่างหนึ่ง = ๔ อาฬหก. (ป.).
  • โท     ว. สอง, ชั้นที่ ๒ (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศ ตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่าเอก สูงกว่าตรี) เช่น ร้อยโท ข้าราชการชั้นโท ปริญญาโท;
  • โท่    ว. เป็นช่องกว้างใหญ่เห็นได้จะแจ้ง.
  • โทนโท่    ว. ปรากฏชัดแก่ตา, จะแจ้ง, เช่น เห็นอยู่โทนโท่, ทนโท่ ก็ว่า.
  • โทโทษ    น. คำที่ใช้ไม้เอกโดยปรกติ แต่เปลี่ยนใช้ไม้โทเสียงเดียวกัน ในบทนิพนธ์ที่บังคับให้ใช้ไม้โท เช่น ง่าย เป็น หง้าย, พลั่ง เป็น ผลั้ง.
  • ขณะ    ขะหฺนะ น. ครู่, ครั้ง, คราว, เวลา, สมัย. (ป.; ส. กษณ).
  • ขีณะ    (แบบ) ว. สิ้นไป เช่น ถั่นค่ำขีณะแล้ว. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป.).
  • คณะ    คะนะ- น. หมู่, พวก, (ซึ่งแยกมาจากส่วนใหญ่); กลุ่มคนผู้ร่วมกันเพื่อการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คณะกรรมการ คณะสงฆ์ คณะนักท่องเที่ยว; หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จั
  • ตรุณะ    ตะรุน, ตะรุนะ (แบบ) น. เด็กรุ่น. ว. ดรุณ, หนุ่ม, อ่อน, รุ่น, เพศหญิงใช้ว่า ตรุณี. (ป., ส.).
  • ภณะ    พะ- (แบบ) ก. กล่าว, พูด, บอก. (ป., ส.).
  • วณะ    วะนะ- น. แผล, ฝี. (ป.; ส. วฺรณ).
  • หริณะ    หะรินะ น. กวาง, เนื้อชนิดหนึ่ง, กระต่าย. ว. สีขมิ้น, สีเหลืองอมแดง, สีเขียว. (ป., ส.).
  • อิณะ    น. หนี้ เช่น ราชิณ (ราช + อิณ) ว่า หนี้หลวง. (ป.; ส. ฤณ).
  • ป.โท    ปริญญาโท
  • โทน    ๑ น. ชื่อกลองประเภทหนึ่งสำหรับตีขัดจังหวะ ขึงหนังด้านเดียวคล้ายกลองยาว แต่เล็กและสั้นกว่า มี ๒ ชนิด คือ โทนชาตรี และ โทนมโหรี; ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. ว. มีจำเพาะหนึ่งเท่านั้น, ใช้แก่สิ่งที่ตามปรกติค
  • โทร    โทระ- ว. คำนำหน้าศัพท์ แปลว่า ไกล.