โมหาคติ คือ
สัทอักษรสากล: [mō hā kha ti] การออกเสียง:
"โมหาคติ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- น. ความลำเอียงเพราะความเขลา เป็นอคติ ๑ ในอคติ ๔ ได้แก่ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. (ป. โมห + อคติ).
- โม น. แตงโม. ( ดู แตง ).
- โมห -หะ- น. ความหลง, ความเขลา, ความโง่, ที่ใช้ว่า โม่ห์ หรือ เมาห์ ก็มี. ( ป. , ส. ).
- มหา ๑ ว. ใหญ่, ยิ่งใหญ่, มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส บางทีก็ลดรูปเป็น มห เช่น มหรรณพ มหัทธนะ มหัศจรรย์. ๒ น.
- หา ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- คต -คะตะ, -คด ก. ถึงแล้ว, ไปแล้ว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ตถาคต สุคต สวรรคต ทิวงคต. ( ป. ).
- คติ ๑ คะติ น. การไป; ความเป็นไป. ( ป. ). ๒ คะติ น. แบบอย่าง, วิธี, แนวทาง. ( ป. ).
- ติ ก. ชี้ข้อบกพร่อง.
- โมห- -หะ- น. ความหลง, ความเขลา, ความโง่, ที่ใช้ว่า โม่ห์ หรือ เมาห์ ก็มี. (ป., ส.).
- ตถาคต ตะถาคด น. พระนามพระพุทธเจ้า. (ป. ตถาคต ว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น เป็นคำที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกพระองค์เอง).
- ภยาคติ พะยาคะติ น. ความลำเอียงเพราะความกลัว เป็นอคติ ๑ ในอคติ ๔ ได้แก่ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. (ป. ภย + อคติ).
- อนาคต อะนาคด, อะนาคดตะ- ว. ยังไม่มาถึง. น. เวลาภายหน้า. (ป., ส.).
- อนาคต- อะนาคด, อะนาคดตะ- ว. ยังไม่มาถึง. น. เวลาภายหน้า. (ป., ส.).
- หาความหมาย ตีความ
- ออกมหาสมาคม ก. ออกที่ประชุมใหญ่ในพระราชพิธีสำคัญ, ใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์ ว่า เสด็จออกมหาสมาคม.
- ตโมหร น. พระจันทร์. (ส. ตโมหร ว่า ผู้คลายความมืด).