เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

โล้ชิงช้า คือ

สัทอักษรสากล: [lō ching chā]  การออกเสียง:
"โล้ชิงช้า" การใช้"โล้ชิงช้า" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ก. ยืนบนชิงช้าแล้วใช้มือโหนเชือกโยกตัวให้ชิงช้าแกว่งโยนไปมา.
  • โล     กิโลกรัม กก. กิโล ก.ม. กม. กิโลเมตร กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง ก.ก.
  • โล้     ก. แล่นไปตามคลื่น (สำหรับเรือสำเภา) ( พจน. ๒๔๙๓), ทำให้เรือเคลื่อนที่โดยอาการโยกแจวให้ปัดน้ำไปมา. น. เรียกเรือต่อชนิดหนึ่ง ท้ายตัด
  • ชิ     อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น.
  • ชิง     ๑ ก. แข่ง, แข่งขัน, เช่น ชิงรางวัล ชิงทุน, แย่ง เช่น ชิงอำนาจ. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) น. ต้นกะพ้อ. ( ดู กะพ้อ ๒ ).
  • ชิงช้า     น. ที่นั่งผูกด้วยเชือกเป็นต้น ๒ ข้าง แขวนตามกิ่งไม้หรือที่สูง สำหรับนั่งหรือยืนไกวไปมา.
  • ช้า     ๑ ว. ค่อย ๆ เคลื่อนไป, ไม่เร็ว, ไม่ไว, เช่น เดินช้า วิ่งช้า; ล่า, ไม่ทันเวลาที่กำหนด, เช่น มาช้า. ๒ ว. หยาบ, ชั่ว, เลว, ทราม, เช่น
  • ช่องชั้น (หลืบฝ้า    ช่องเหลี่ยม หลืบ หลืบเขา)
  • ชิงชี่    น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Capparis micracantha DC. ในวงศ์ Capparidaceae สูง ๒-๔ เมตร มีหนามเล็กสั้น ๆ ขนาบโคนก้านใบข้างละอัน ดอกขาว โคนกลีบดอกสีเหลือง ใกล้โรยกลายเป็นสีม่วงแก่ ออกเป็นตับตามลำกิ่งเหนือง่ามใ
  • ชิงชัง    ก. เกลียดชัง, เกลียดมาก.
  • ชิงชัน    น. ชื่อไม้ต้นชนิด Dalbergia oliveri Gamble ในวงศ์ Leguminosae เนื้อไม้แข็ง แก่นสีแดงเข้มถึงสีม่วงแก่, ประดู่ชิงชัน ก็เรียก.
  • ชิงชัย    ก. รบกัน.
  • ชิงช่วง    ก. แย่ง. น. การเล่นชนิดหนึ่ง เอาลูกไม้หรือของที่ลอยทิ้งลงในน้ำแล้วแย่งชิงกัน.
  • ชิงช้าสูง    ชิงช้า ชิงช้ากายกรรม
  • ช่วงชัย    น. การเล่นพื้นเมืองอย่างหนึ่ง นิยมเล่นในเทศกาล เช่น สงกรานต์ มีผู้เล่นหลายคน แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย ชายฝ่ายหนึ่ง หญิงฝ่ายหนึ่ง ยืนหันหน้าเข้าหากัน ห่างพอที่จะใช้ลูกช่วงที่ทำด้วยผ้าขาวม้าเป็นต้นเป็นลูกกล
  • ช่วงชิง    ก. แย่งชิง.
ประโยค
  • ทำไมพระองค์ถึงโล้ชิงช้าได้ดีอย่างนั้นพ่ะย่ะค่ะ
  • สตรีจากตระกูลผู้สูงศักดิ์โล้ชิงช้าได้ดีกว่า ~ !
  • งั้นทำไมท่านไม่ช่วยนางโล้ชิงช้าล่ะ
  • นางโล้ชิงช้าได้สมบูรณ์แบบทีเดียว
  • สนุกและตื่นเต้นกับการโล้ชิงช้าแบบฉบับอาข่า กิจกรรมสำหรับคนชอบความท้าทาย
  • ชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน เจิงมวย เจิงดาบโบราณ ชมและร่วมเล่นกับการแสดงพื้นบ้านของชนเผ่าต่างๆของภาคเหนือ เช่น การโล้ชิงช้าแบบโบราณของชาวเขาเผ่าอาข่า เผ่าม้ง