ใส่ถ้อยร้อยความ คือ
- (สำ) ก. ใส่ความ, พูดหาเหตุหาเรื่อง.
- ใส ว. แจ่มกระจ่าง เช่น ฟ้าใส, ไม่ขุ่น, ไม่มัว, เช่น น้ำใส กระจกใส.
- ใส่ ก. สวม เช่น ใส่เสื้อ ใส่กางเกง, เอาไว้ข้างในภาชนะหรือสถานที่เป็นต้น เช่น กรอกน้ำใส่ขวด นำนักโทษไปใส่คุก, บรรทุก เช่น เอาสินค้าใส่รถ.
- ถ้อ ก. โต้ตอบ เช่น ร้องเพลงถ้อกันไปมา. ( พงศ. เลขา ), ใช้ ท่อ ก็มี.
- ถ้อย น. คำพูด, มักใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น ถ้อยคำ เจ้าถ้อยหมอความ เป็นถ้อยร้อยความ.
- อย อะยะ-, อะยัด น. เหล็ก. ( ป. อย; ส. อยสฺ).
- ร้อย ๑ ว. จำนวนนับ ๑๐ สิบหนเป็นหนึ่งร้อย (๑๐๐). ๒ ก. สอด, สอดด้วยด้ายเป็นต้น, เช่น ร้อยดอกไม้ ร้อยพวงมาลัย ร้อยสตางค์แดง ร้อยเชือกผูกรองเท้า. ๓
- ความ คฺวาม น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คำนำหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น
- วา ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. ๒ น.
- วาม วามะ- ว. ซ้าย, ข้างซ้าย. ( ป. , ส. ). ๑ ว. เป็นแสงเรือง ๆ อย่างแสงหิ่งห้อย เช่น น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม ทรายเหลือบหางยูงงาม ว่าหญ้า
- ถ้อยความ น. เรื่องราวที่เขียนหรือเรียบเรียง, เรื่องราวที่ฟ้องร้องกัน, มักใช้ในสำนวนว่า เป็นถ้อยเป็นความ.
- ถ้อยคําหวาน ที่รัก
- ความด้อยคุณภาพ คุณภาพต่ำ
- ด้อยความเจริญ ด้อยพัฒนา ล้าหลัง
- ถ้อยคําลามก ความลามก
- ถ้อยคำ น. คำที่กล่าว.