ไตรปิฎก คือ
สัทอักษรสากล: [Trai pi dok] การออกเสียง:
"ไตรปิฎก" การใช้"ไตรปิฎก" อังกฤษ"ไตรปิฎก" จีน
ความหมายมือถือ
-ปิดก
น. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามี ๓ ปิฎก คือ พระวินัย เรียก วินัยปิฎก พระสูตร เรียก สุตตันตปิฎก พระอภิธรรม เรียก อภิธรรมปิฎก, ตรีปิฎก ก็ว่า.
- ไต ( สรีร ) น. อวัยวะคู่หนึ่งของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้องใกล้กระดูกสันหลัง ทำหน้าที่ขับของเสียออกมากับน้ำปัสสาวะ; สิ่งซึ่งเป็นก้อนแข็งอยู่ในเนื้อ.
- ไตร ๑ ไตฺร ว. ไกร, ยิ่ง, เช่น ตรัสไตร. ๒ ไตฺร ก. กำหนด, นับ, ตรวจ. ๓ ไตฺร ว. สาม, คำสำหรับนำหน้าสมาสอย่างเดียว (บางทีใช้ว่า ตรี ก็ได้)
- ตร หล่อ
- ปิฎก น. ตะกร้า; หมวดแห่งคำสอนในพระพุทธศาสนา. ( ป. , ส. ปิฏก). ( ดู ไตรปิฎก ).
- พระไตรปิฎก n. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามี 3 ปิฎก คือ วินัยปิฎก สุตตันตปิฎกและอภิธรรมปิฎก ตัวอย่างการใช้: พระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ชำระรวบรวมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจัดขึ้นเป็นพระไตรปิฎกจารึก
- ตรีปิฎก น. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งมี ๓ หมวดใหญ่ หมวดหนึ่งเรียกว่า ปิฎกหนึ่ง คือ พระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรมซึ่งโดยมากเรียกว่า ปรมัตถ์, ใช้ว่า ไตรปิฎก ก็ได้. (ส. ตฺริปิฏก; ป. ติปิฏก ว่า ตะกร้า
- พระตรีปิฎก พระไตรปิฎก ตรีปิฎก ไตรปิฎก
- การปราศจากการไตร่ตรอง ความหุ่นหันพลันแล่น
- การปราศจากความไตร่ตรอง ความหุนหันพลันแล่น
- (ไตรภูมิ) มาจาก หนังสือไตรภูมิพระร่วง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ร.ศ. ๑๓๑
- กันไตร -ไตฺร น. กรรไตร.
- ผ้าไตร น. ผ้า ๓ ผืนของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ), ไตร ก็เรียก เช่น ไตรครอง ดอกไม้คลุมไตร, เรียกเต็มว่า ผ้าไตรจีวร.
- สไตรก์ การทำสไตรก์ ประท้วงหยุดงาน หยุดงานประท้วง
- สไตรีน อะโรเมติคไฮโดรคาร์บอน
- หอไตร น. หอสำหรับเก็บพระไตรปิฎก.
ประโยค
- จงออกเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎกจากชมพูทวีป
- ไม่ใช่หลักการของลัทธิขงจื๊อใหม่ แต่เป็นพระไตรปิฎกใช่ไหม
- หน้าแรก • สถาปัตยกรรมสำคัญ • หอพระไตรปิฎก
- มีเพียงพระไตรปิฎก ที่อยู่ที่อินเดีย
- เป็นคำสอนในพระไตรปิฎก
- ตัวอาคารสร้างแบบไทยประยุกต์ ลักษณะคล้ายหอพระไตรปิฎกวัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่
- การรวบรวมพระไตรปิฎก
- พระไตรปิฎกออนไลน์
- สมัยของโมะโตะฮิระ เดือนสิงหาคม โมโตะฮิระ เพื่อให้คำอธิษฐานสมหวังได้คัดลอกพระไตรปิฎก ด้วยกระดาษสีน้ำเงินตัว เขียนตัวอักษรสีทอง พันจบ
- บุษบก คือ มณฑปขนาดเล็ก มีด้านข้างโปร่ง ใช้เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธี หรือเป็นที่ประดิษฐานปูชนียวัตถุ เช่น พระพุทธรูป หรือ พระไตรปิฎก